กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
Advertisements

Your company slogan The KKU SHOW & SHARE 2011 การสร้างโปรแกรมติดตามผลการ ปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี (Warning System) เจ้าของ ผลงาน นางวลาลักษณ์
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
โครงการนำร่อง EdPex คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
Learning Organization PSU.
เพื่อรับการประเมินภายนอก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
เตรียมความพร้อมการรายงานผลการปฏิบัติการประจำปี 2552 รอบ 12 เดือน.
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การนำระบบPDCAการประกันคุณภาพ การศึกษาไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมของนิสิต
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ การสัมมนา นำผลการประเมินทั้งภายใน และภายนอกมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 25 มีนาคม 2552 มหาวิทยาลัยขอนแก่น Add your company slogan กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ

กลุ่ม 2.1 คณะ ประธาน นางอนงค์ศรี งอสอน (คณะแพทยศาสตร์) เลขา กลุ่ม 2.1 คณะ ประธาน นางอนงค์ศรี งอสอน (คณะแพทยศาสตร์) เลขา นายจิรวัฒน์ อุ่นโรจน์ (คณะวิทยาศาสตร์) ที่ปรึกษาของกลุ่ม ผศ.ไชยวิทย์ ธนไพศาล (ผช.อธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพ/ผอ.สำนักงานประเมินฯ) www.themegallery.com

1.การตรวจประเมินคุณภาพภายในประจำปีการศึกษา การตรวจประเมินระดับภาควิชา/สาขา/หลักสูตร ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร เห็นด้วย เพื่อรองรับการตรวจประเมินภายนอกจาก สมศ. ข้อเสนอแนะ มหาวิทยาลัยควรสร้างระบบ กลไก ในการตรวจประเมิน ระดับภาควิชา/กลุ่มสาขาวิชา/หลักสูตร การประเมินภาควิชาและหลักสูตร ควรมีการแยกรูปแบบการตรวจประเมิน www.themegallery.com

ควรจะกำหนดให้ทุกคณะดำเนินการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ก่อนที่มหาวิทยาลัยจะเข้าตรวจประเมินหรือไม่ ปัจจุบันพบว่าหลายคณะไม่มีการตรวจประเมินคุณภาพภายใน จะดำเนินการแค่จัดทำรายงานการประเมินเอง (SAR) และเสนอมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยลงพื้นที่ตรวจประเมินในช่วงเดือน กรกฎาคม เห็นด้วย เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจประเมินระดับคณะจากมหาวิทยาลัย ข้อจำกัด บางคณะมีหน่วยงานภายในมาก การบริหารงานภายในไม่สามารถดำเนินงานได้เสร็จ ข้อเสนอแนะ มหาวิทยาลัยควรพัฒนาและให้ความรู้เพื่อสร้างผู้ตรวจประเมินให้แก่คณะเพิ่มขึ้น www.themegallery.com

หากมหาวิทยาลัยมีนโยบายให้ทุกคณะตรวจประเมินคุณภาพภายในตนเองก่อนที่มหาวิทยาลัยจะเข้าตรวจประเมิน กระบวนการตรวจประเมินควรจะดำเนินการอย่างไร ข้อเสนอแนะ มหาวิทยาลัยควรมีนโยบายและรูปแบบในการตรวจประเมินให้คณะทราบล่วงหน้า (ประมาณเดือน ธ.ค.) การถ่ายทอดตัวชี้วัดที่จะทำการตรวจประเมินในระดับคณะ/ภาควิชา/สาขาวิชา/หลักสูตร ให้ชัดเจน ระยะเวลาในการถ่ายทอดตัวชี้วัดควรอยู่ในช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้คณะ/หน่วยงาน ได้วางแผนในการจัดเก็บข้อมูลและดำเนินงาน www.themegallery.com

2 การนำผลการประเมินคุณภาพระดับคณะ/กลุ่มสาขา มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรมนั้น ควรจะดำเนินการอย่างไร (หมายถึงผลการประเมินและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงของ สกอ. สมศ. กพร. ผลการประเมินคุณภาพภายใน/ผลการประเมินตนเอง/ผลการดำเนินงานตามแผน) นำเอาผลการประเมินของ กพร. สมศ. IQA นำตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุเป้าหมายมาใช้ในการวางแผนพัฒนาต่อไป สำหรับตัวชี้วัดที่สามารถดำเนินการได้บรรลุตามเป้าหมาย หาแนวทางในการรักษาระดับ ควรมีคณะกรรมการในการติดตามการนำผลการประเมินไปพัฒนาจากส่วนกลางในระดับมหาวิทยาลัย ข้อสังเกต คณะกรรมการประเมินระดับคณะควรส่งผลการประเมินให้คณะทราบโดยเร็ว เพื่อคณะจะได้นำข้อมูลไปประกอบในการปรับแผน www.themegallery.com

ควรกำหนดมาตรการในการดำเนินการอย่างไร ควรมีคณะกรรมการติดตามผลการประเมินจากส่วนกลาง ควรมีคำสั่ง/ประกาศ จากมหาวิทยาลัยการกำหนดระยะเวลาในการติดตามประเมินผล แผนปฏิบัติการที่เกิดจากการตรวจประเมินควรได้รับการจัดสรร/สนับสนุน ทรัพยากรในอันดับต้น www.themegallery.com

การติดตามการนำเอาผลการประเมินมาใช้ควรดำเนินการอย่างไร (ใครติดตาม ระยะเวลาที่ติดตาม ระบบการายงานและตรวจสอบ) ตามข้อเสนอแนะที่ผ่านมา www.themegallery.com

ควรมีผลประเมิน ADLI ที่ชัดเจน ให้มีการประเมินกระบวนการในแต่ละด้าน 3. การประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพ (หมายถึงการประเมินผลลัพธ์สุดท้ายจากการประกันคุณภาพว่ามีผลการดำเนินงานที่ดีอะไรบ้าง) จะประเมินผลลัพธ์การประกันคุณภาพอย่างไร (วิธีการ/ผู้รับผิดชอบ/ประเด็นการประเมินผลลัพธ์/การคัดเลือกและยกย่องหน่วยงานที่มีผลลัพธ์การดำเนินงานในระดับดี/การให้รางวัล) ควรมีผลประเมิน ADLI ที่ชัดเจน ให้มีการประเมินกระบวนการในแต่ละด้าน ถ้ามีผล Best Practice จากแผนพัฒนาคุณภาพองค์กร ดูจากผลการประเมินในภาพรวมของ SAR ระดับคณะในแต่ละปี www.themegallery.com

ให้รางวัลตามหมวดของเกณฑ์ PMQA การจัดกิจกรรม KKU Quality Award (รูปแบบการจัดงาน การคัดเลือกผลงานเพื่อให้รางวัล) ให้รางวัลตามหมวดของเกณฑ์ PMQA ให้รางวัลตามพันธกิจ เช่น การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงฯ การบริหารจัดการรูปแบบ เช่น Show and Shareบทความโปสเตอร์web siteการสาธิต/ทดลองใช้งาน รางวัล เงินสดการสนับสนุนทีมงานไปศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ เสื้อทีม/เสื้อสามารถโล่เกียรติคุณโควตาความดีความชอบจากส่วนกลาง www.themegallery.com

ถาม-ตอบ www.themegallery.com