รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
PCTG Model อริยมงคล 55.
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย สพฐ. ปี
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดเตรียมข้อมูลเชิงปริมาณ การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศึกษาพัฒนาและผลิตสื่อ ทางประวัติศาสตร์ในชุมชน
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การแต่งกายของนักเรียน
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
ปัญหาทางการศึกษา อุปสรรคทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านดอนกลาง
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
ความเป็นครู.
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ฝ่ายบริหารงานวิชาการ. วิสัยทัศน์ “ เราจะผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่ เปี่ยมด้วยคุณธรรม มีสมรรถนะ วิชาชีพ บนพื้นฐานแห่งองค์กร สร้างสุข เพื่อเป็นบุคลากรทีมี
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ 4. วิจัยและพัฒนาครูสถานศึกษา ระบบบริหาร ทิศทางการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างครูยุคใหม่ สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ ระบบบริหารจัดการยุคใหม่ (พ.ศ.2552-2561) : ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ

ระบบบริหารจัดการ สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ หลักสูตร คุณภาพ เด็กไทย/ ทบทวน ระบบบริหารจัดการ สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ คุณภาพ เด็กไทย/ คนไทย -สมอง -คุณลักษณะ -สมรรถนะ หลักสูตร ครู/ กระบวนการสอน

การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ 2 การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ ให้มีลักษณะดังนี้ เป็นผู้เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ ความสามารถ มีใจรักในวิชาชีพครู สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณธรรม มาตรฐาน เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีของนักเรียน มีการพัฒนาตนเองและแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง The 7 Pillars

แนวปฏิบัติทั่วไป(ประเทศ) พัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมครูให้ได้มีโอกาสพัฒนาตนเองด้านการศึกษาต่อ / ศึกษาดูงาน คืนครูให้แก่นักเรียนโดยลดภาระงานอื่นที่ไม่จำเป็น และจัดให้มีบุคลากรสายสนับสนุนให้เพียงพอ ปรับปรุงเกณฑ์กำหนดอัตราครู โดยพิจารณาจากภาระงาน และจัดให้มีจำนวนครูเพียงพอตามเกณฑ์ และมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน จัดกองทุนส่งเสริมครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อขวัญและกำลังใจครู

ระบบควบคุมคุณภาพครู ครูยุคใหม่ กระบวนการผลิตครู ทิศทาง การวิจัย ระบบควบคุมคุณภาพครู -การประเมินปกป้องวิทยฐานะ -การประเมินการปฏิบัติงาน กระบวนการผลิตครู -มาตรฐานสมรรถนะครู -มาตรฐานครูพี่เลี้ยง -มาตรฐานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ -ระบบฝึกประสบการณ์ -ระบบประเมินสมรรถนะ ฯลฯ พัฒนานวัตกรรม/กระบวนการสอน ที่มีคุณภาพ ครูยุคใหม่ -ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนงาน -ระบบประเมินตนเอง กระบวนการส่งเสริม/พัฒนาครูประจำการ -หลักสูตรเสริมสมรรถนะครู -ระบบนิเทศ/พัฒนาครู -ระบบสวัสดิการ -ระบบเชิดชูเกียรติ์ครู

การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ 3 การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ ยุคใหม่ให้มีลักษณะ ดังนี้ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณธรรม ที่จัดระบบการศึกษาเรียนรู้และการวัดประเมินผลการศึกษาเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นมาตรฐาน สามารถเทียบเคียงกันโดยให้มีการวัดผลระดับชาติในชั้นปีสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้น และนำผลมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน สามารถจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ

จัดหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน กิจกรรม การวัดและประเมินผลทุกระดับอย่างมีคุณภาพ เพื่อเอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้านทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาให้สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จัดแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนอย่างหลากหลายในรูปแบบที่เหมาะสมกับศักยภาพและความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกและนำผลมาใช้ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมการอนุรักษ์และใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง โดยสร้างนิสัยรักการอ่านให้เกิดขึ้นควบคู่กับการเรียนรู้ภาษาสากลเป็นภาษาที่สอง และสนับสนุนการเรียนรู้ภาษาที่สาม เช่น ภาษาเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซียน ภาษาที่สนใจ ฯลฯ

กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ(ที่ดี คืออย่างไร) การสร้างความตระหนักรู้ในกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง/ผู้ปกครอง ปฏิทินการขับเคลื่อนหลักสูตรในรอบปี(1-3 ปีแรก) กระบวนการ KM ในการใช้หลักสูตร/ การขับเคลื่อนแบบมุ่งสัมฤทธิ์/ขับเคลื่อนอิงหลักวิชา/ระบบ MOU กระบวนการจัดการเรียนรู้/มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือเด็กเพื่อส่งเสริมสู่ความเป็นเลิศ และแก้ปัญหาเด็กอ่อน/เด็กแถวหลัง/เด็กกลุ่มด้อยโอกาส การกำกับ ติดตามและประเมินผล อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ การนำผลการกำกับติดตามและประเมิน สู่ การปรับปรุง-พัฒนา

แหล่งเรียนรู้ บ้าน กิจกรรมชุมนุม โรงเรียน ชุมชน ห้องเรียน บริบท รอบตัวเด็ก ต้องพร้อมที่จะสนับสนุนหรือเอื้อต่อการพัฒนาเด็ก ชุมชน

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ 4 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ มีการกระจายอำนาจ เน้นการมีส่วนร่วม มีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล มีความโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการบริหารเชิงคุณภาพ มีการบริหารจัดการการเงินและงบประมาณที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Demand side) การใช้แนวทางการเปลี่ยนผ่านการศึกษาเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ 1) บริหารงานอย่างเป็นระบบ 2) ให้ความสำคัญกับงานวิจัยและพัฒนา หรืองานสร้างสรรค์ 3) มีปฏิทินป้องกันความเสี่ยง /ปฏิทินงาน

การกระจายอำนาจ/บทบาทร่วม ทิศทาง การวิจัย ระบบควบคุม/ตรวจสอบ/ประกันคุณภาพ -โดยต้นสังกัด/สพท/สพฐ / (อย่างมีลำดับชั้น) -โดย สมศ./สทศ. ฯลฯ บริหารจัดการหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ การกระจายอำนาจ/บทบาทร่วม -การสนับสนุนของท้องถิ่น/ชุมชน -สมัชชาการศึกษา -ระบบประสานงาน/สนับสนุน สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ -หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ -ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา -ระบบบริหารจัดการ/ระบบกำกับติดตาม/ระบบนิเทศภายใน -กระบวนการจัดการเรียนการสอน -ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน -กระบวนการสัมพันธ์ชุมชน การส่งเสริมความพร้อม/ระบบดูแลสถานศึกษา -การกระจาย/การใช้ทรัพยากร -การดูแล/ส่งเสริมสถานศึกษา(กลุ่มเลิศเฉพาะทาง กลุ่มด้อยโอกาส ฯลฯ)

“การวิจัยและพัฒนา ที่หลากหลาย จะได้องค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม/สื่อ-วิธีการที่เหมาะสม เพื่อการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา ของประเทศ”