รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ 4. วิจัยและพัฒนาครูสถานศึกษา ระบบบริหาร ทิศทางการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างครูยุคใหม่ สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ ระบบบริหารจัดการยุคใหม่ (พ.ศ.2552-2561) : ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ระบบบริหารจัดการ สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ หลักสูตร คุณภาพ เด็กไทย/ ทบทวน ระบบบริหารจัดการ สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ คุณภาพ เด็กไทย/ คนไทย -สมอง -คุณลักษณะ -สมรรถนะ หลักสูตร ครู/ กระบวนการสอน
การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ 2 การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ ให้มีลักษณะดังนี้ เป็นผู้เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรู้ ความสามารถ มีใจรักในวิชาชีพครู สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณธรรม มาตรฐาน เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีของนักเรียน มีการพัฒนาตนเองและแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง The 7 Pillars
แนวปฏิบัติทั่วไป(ประเทศ) พัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมครูให้ได้มีโอกาสพัฒนาตนเองด้านการศึกษาต่อ / ศึกษาดูงาน คืนครูให้แก่นักเรียนโดยลดภาระงานอื่นที่ไม่จำเป็น และจัดให้มีบุคลากรสายสนับสนุนให้เพียงพอ ปรับปรุงเกณฑ์กำหนดอัตราครู โดยพิจารณาจากภาระงาน และจัดให้มีจำนวนครูเพียงพอตามเกณฑ์ และมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน จัดกองทุนส่งเสริมครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อขวัญและกำลังใจครู
ระบบควบคุมคุณภาพครู ครูยุคใหม่ กระบวนการผลิตครู ทิศทาง การวิจัย ระบบควบคุมคุณภาพครู -การประเมินปกป้องวิทยฐานะ -การประเมินการปฏิบัติงาน กระบวนการผลิตครู -มาตรฐานสมรรถนะครู -มาตรฐานครูพี่เลี้ยง -มาตรฐานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ -ระบบฝึกประสบการณ์ -ระบบประเมินสมรรถนะ ฯลฯ พัฒนานวัตกรรม/กระบวนการสอน ที่มีคุณภาพ ครูยุคใหม่ -ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนงาน -ระบบประเมินตนเอง กระบวนการส่งเสริม/พัฒนาครูประจำการ -หลักสูตรเสริมสมรรถนะครู -ระบบนิเทศ/พัฒนาครู -ระบบสวัสดิการ -ระบบเชิดชูเกียรติ์ครู
การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ 3 การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ ยุคใหม่ให้มีลักษณะ ดังนี้ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณธรรม ที่จัดระบบการศึกษาเรียนรู้และการวัดประเมินผลการศึกษาเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นมาตรฐาน สามารถเทียบเคียงกันโดยให้มีการวัดผลระดับชาติในชั้นปีสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้น และนำผลมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน สามารถจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน กิจกรรม การวัดและประเมินผลทุกระดับอย่างมีคุณภาพ เพื่อเอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้านทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาให้สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น จัดแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนอย่างหลากหลายในรูปแบบที่เหมาะสมกับศักยภาพและความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกและนำผลมาใช้ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมการอนุรักษ์และใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง โดยสร้างนิสัยรักการอ่านให้เกิดขึ้นควบคู่กับการเรียนรู้ภาษาสากลเป็นภาษาที่สอง และสนับสนุนการเรียนรู้ภาษาที่สาม เช่น ภาษาเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซียน ภาษาที่สนใจ ฯลฯ
กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ(ที่ดี คืออย่างไร) การสร้างความตระหนักรู้ในกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง/ผู้ปกครอง ปฏิทินการขับเคลื่อนหลักสูตรในรอบปี(1-3 ปีแรก) กระบวนการ KM ในการใช้หลักสูตร/ การขับเคลื่อนแบบมุ่งสัมฤทธิ์/ขับเคลื่อนอิงหลักวิชา/ระบบ MOU กระบวนการจัดการเรียนรู้/มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือเด็กเพื่อส่งเสริมสู่ความเป็นเลิศ และแก้ปัญหาเด็กอ่อน/เด็กแถวหลัง/เด็กกลุ่มด้อยโอกาส การกำกับ ติดตามและประเมินผล อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ การนำผลการกำกับติดตามและประเมิน สู่ การปรับปรุง-พัฒนา
แหล่งเรียนรู้ บ้าน กิจกรรมชุมนุม โรงเรียน ชุมชน ห้องเรียน บริบท รอบตัวเด็ก ต้องพร้อมที่จะสนับสนุนหรือเอื้อต่อการพัฒนาเด็ก ชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ 4 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ มีการกระจายอำนาจ เน้นการมีส่วนร่วม มีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล มีความโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการบริหารเชิงคุณภาพ มีการบริหารจัดการการเงินและงบประมาณที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Demand side) การใช้แนวทางการเปลี่ยนผ่านการศึกษาเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ 1) บริหารงานอย่างเป็นระบบ 2) ให้ความสำคัญกับงานวิจัยและพัฒนา หรืองานสร้างสรรค์ 3) มีปฏิทินป้องกันความเสี่ยง /ปฏิทินงาน
การกระจายอำนาจ/บทบาทร่วม ทิศทาง การวิจัย ระบบควบคุม/ตรวจสอบ/ประกันคุณภาพ -โดยต้นสังกัด/สพท/สพฐ / (อย่างมีลำดับชั้น) -โดย สมศ./สทศ. ฯลฯ บริหารจัดการหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ การกระจายอำนาจ/บทบาทร่วม -การสนับสนุนของท้องถิ่น/ชุมชน -สมัชชาการศึกษา -ระบบประสานงาน/สนับสนุน สถานศึกษา/แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ -หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ -ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา -ระบบบริหารจัดการ/ระบบกำกับติดตาม/ระบบนิเทศภายใน -กระบวนการจัดการเรียนการสอน -ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน -กระบวนการสัมพันธ์ชุมชน การส่งเสริมความพร้อม/ระบบดูแลสถานศึกษา -การกระจาย/การใช้ทรัพยากร -การดูแล/ส่งเสริมสถานศึกษา(กลุ่มเลิศเฉพาะทาง กลุ่มด้อยโอกาส ฯลฯ)
“การวิจัยและพัฒนา ที่หลากหลาย จะได้องค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม/สื่อ-วิธีการที่เหมาะสม เพื่อการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา ของประเทศ”