แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ” การประชุมคณะกรรมการ แก้ไขปัญหาค่าครองชีพ 28 มีนาคม 2555 เวลา 13.00 น. - พิจารณาหลักเกณฑ์และ แนวทางการปฏิบัติ - แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 1 กรมการค้าภายในจัดส่งหลักเกณฑ์ และแนวทางการปฏิบัติ 29 มีนาคม 2555 คณะอนุกรรมการฯ ส่วนกลาง คณะอนุกรรมการฯ เขตกทม. คณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด 2 กรมการค้าภายในประชุมชี้แจง การดำเนินโครงการ 30 มีนาคม 2555 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนกลางและภูมิภาค 3 เปิดรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ ใน กทม. และ 76 จังหวัด 2 เมษายน 2555 พิจารณาคัดเลือกร้านค้าและเจ้าหน้าที่ประจำใน กทม. (ทุกเขต) และใน 76 จังหวัด (ทุกอำเภอ) 4 การจัดทำร้านค้าต้นแบบ 5 เมษายน 2555 สถานที่ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ 5 PHASE I กทม./ปริมณฑล จังหวัดใหญ่ 15 จังหวัด จำนวน 2,000 แห่ง 19 เมษายน 2555 ในชุมชน กทม. และเขตเทศบาล - กทม. และปริมณฑล 15 จังหวัด ภาคเหนือ เชียงใหม่ เชียงราย พิษณุโลกนครสวรรค์ ภาคอีสาน นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี นครพนม ภาคกลาง อยุธยา สุพรรณบุรี ชลบุรี ภาคใต้ สุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช เปิดตัว ร้านถูกใจ 10,000 แห่ง 6 PHASE II กทม./ปริมณฑล และทุกจังหวัดทั่วประเทศ จำนวน 8,000 แห่ง 1 พฤษภาคม 2555 ในชุมชน กทม. และระดับตำบล - กทม. และปริมณฑล - ทุกจังหวัดทั่วประเทศ การกำกับดูแลการดำเนินโครงการ คณะกรรมการแก้ไขปัญหาค่าครองชีพ ฯ คณะอนุกรรมการฯ ส่วนกลาง คณะอนุกรรมการฯ เขตกรุงเทพมหานคร คณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด 1 เมษายน - 30 กันยายน 2555 - ติดตามและกำกับดูแล - ประเมินผลโครงการ - แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 7
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์การคัดเลือก และเงื่อนไข “ร้านถูกใจ” คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก เงื่อนไขการดำเนินการร้านถูกใจ เป็นร้านค้าปลีกรายย่อย จำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ร้านอาหารธงฟ้า ร้านค้าสหกรณ์ ที่ประกอบธุรกิจอยู่ในปัจจุบัน (ก่อนวันเปิดรับสมัคร 2 เมย.55) เป็นเจ้าของกิจการ สินค้าตามโครงการต้องมีสถานที่ จำหน่ายเป็นอาคารถาวร มีพื้นที่ จัดวางอย่างน้อย 6 ต.ร.ม. (ร้านค้าปลีก) และ 3 ต.ร.ม. (ร้านอาหารธงฟ้า) อยู่ในแหล่งชุมชน เป็นผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ โดยพิจารณาจาก ผลประกอบการ ประวัติการค้า สถานะทางการเงิน เป็นต้น และให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หรือปกครองท้องถิ่น รับรอง ทำเลที่ตั้ง อยู่ในแหล่งชุมชน การคมนาคมสะดวก กระจายร้านค้าในทุกตำบล โดยในแต่ละตำบลอาจมีร้านค้า มากกว่า 1 แห่ง ตามความเหมาะสม ร้านค้าแต่ละแห่งจะต้องมีระยะห่าง จากร้านค้าอื่นที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อให้มีการกระจายในทุกพื้นที่ จำหน่ายสินค้าตามโครงการ ไม่น้อยกว่า 20 รายการ หรือตาม จำนวนรายการที่กำหนด ต้องมีสินค้าวางจำหน่ายเพียงพอ ต่อความต้องการ จำหน่ายตามราคาและจำนวน ที่กำหนด จัดสถานที่/ชั้นวางของ/มุมจำหน่าย สินค้าตามโครงการ ในตำแหน่งที่ เห็นได้ชัดเจนน่าสนใจ มีการปิดป้ายแสดงราคาชัดเจน จัดทำบัญชีซื้อและขายสินค้า ตามโครงการเพื่อให้เจ้าหน้าที่กรมฯ ตรวจสอบได้ตลอดเวลา ต้องปฏิบัติตามเกณฑ์และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการกำหนด
การกำหนดรายการสินค้า ผู้ผลิต/ผู้จำหน่ายที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 รายการ หมวดอาหาร 12 รายการ ข้าวสาร ไข่ไก่ น้ำมันพืช น้ำตาลทราย ผงชูรส น้ำปลา ปลากระป๋อง บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นม UHT ซอสปรุงรส เนื้อสุกร เนื้อไก่ หมวดของใช้ 8 รายการ สบู่ ยาสีฟัน แชมพู ผงซักฟอก แป้งผงโรยตัว น้ำยาล้างจาน ผ้าอนามัย ยากำจัดยุงและแมลง (รายการสินค้าอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม) ผู้ผลิตสินค้า เงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการ จำหน่ายสินค้าในราคา ณ โรงงาน หรือราคาต่ำกว่า และต้องเป็นราคาจำน่ายที่ไม่สูงกว่าราคาจำน่ายให้แก่ผู้ซื้อรายอื่น เป็นสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานที่จำหน่ายในตลาดตามปกติ มีปริมาณสินค้าที่เพียงพอต่อความต้องการของโครงการ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด ผู้แทนจำหน่าย ผู้ผลิตและผู้จำหน่ายสินค้าที่เข้าร่วมโครงการ ห้างค้าปลีกค้าส่งรายใหญ่ ผู้ผลิตสินค้า House Brand
การจัดระบบ Logistics การสั่งซื้อ รับสินค้า และชำระเงิน Suppliers ผู้ผลิตสินค้า สั่งซื้อสินค้า องค์การคลังสินค้า ชำระค่าสินค้า ผู้แทนจำหน่าย สั่งซื้อสินค้า ห้างค้าปลีกค้าส่งรายใหญ่ รับสินค้า สั่งซื้อสินค้า ร้านค้าในโครงการ 10,000 แห่ง กทม./ปริมณฑล 76 จังหวัด ทั่วประเทศ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด ผู้ผลิตสินค้า House Brand ส่งสินค้า ชำระค่าสินค้า
สั่งซื้อสินค้าที่ไปรษณีย์ไทยทุกสาขาพร้อมชำระเงิน ขั้นตอนการสั่งซื้อและการส่งสินค้า (ร้านค้ารับสินค้าภายใน 7 วัน) 1 สั่งซื้อสินค้าที่ไปรษณีย์ไทยทุกสาขาพร้อมชำระเงิน 2 ร้านค้า วันจันทร์ – พุธ ก่อน 14.00 น. ส่งคำสั่งซื้อ ภายในวันพุธ 16.00 น. 3 ส่งสินค้า 5 4 รับ/ส่ง สินค้า ส่งคำสั่งซื้อ ภายในศุกร์ ไปรษณีย์ไทย ผู้จำหน่ายสินค้า