การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 4/2554 (ครั้งที่ 4)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ผลการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หน่วยงานอื่นของรัฐหรือหน่วยงานอื่นใดที่ดำเนินกิจการของรัฐตาม กฎหมาย และได้รับเงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ กระทรวง ทบวง.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
วันพุธที่ 21 เมษายน 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุมเล็ก อาคาร 2
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 3/2554 (ครั้งที่ 3) วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม 2554 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 6/2553
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 2/2553 วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 8/2553
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 9/2553
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 4/2553 วันพฤหัสบดีที่ 29 เมษายน 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ณ 8 มิถุนายน 2553.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 3/2553
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 5/2553
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 7/2553 วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุมปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ชั้น 6 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การพัฒนา PMQA หมวด 4 นางแววตา เรืองนภา ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร วันที่ 1 กรกฎาคม 2553.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 2/2554 (ครั้งที่ 2)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 5/2554 (ครั้งที่ 5)
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 4/2554 (ครั้งที่ 4) วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 3/2554 (ครั้งที่ 3)

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา 3.1 ความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน IT1-IT7 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

แผนพัฒนาองค์การ PMQA หมวด 4 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รหัส เจ้าภาพ หลัก ลำดับ แผนพัฒนาองค์การ ผู้รับผิดชอบ IT1 สนพ. (ฝ่ายเลขาฯ) ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ และตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ IT1(1) แผนการพัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน ปรับปรุงระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระทรวงพลังงาน (ระยะที่ 3) พัฒนาฐานข้อมูล LNG ศึกษาเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลศูนย์ให้คำปรึกษาทางธุรกิจพลังงาน พัฒนาฐานข้อมูลก๊าซชีวภาพ ปรับปรุงฐานข้อมูลพลังงานร่วมกับ IEA และ APEC สป.พน. สนพ./พพ. สนพ./สป.พน. IT1(2) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการของกระทรวงพลังงานย้อนหลัง 4 ปี และปีปัจจุบัน ทุกกรม IT2 ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่า IT2(3) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการกำหนดนโยบาย มาตรการ และกฎระเบียบด้านพลังงาน และติดตามประเมินผล IT2(4) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการประสานความร่วมมือและสร้างเครือข่ายด้านพลังงาน IT2(5) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการจัดหาพลังงาน ปรับปรุงฐานข้อมูลศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย พพ. IT2(6) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการส่งเสริมด้านพลังงาน พัฒนาระบบรายงานบัญชีพลังงาน (Energy Balance) IT2(7) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการผลิตพลังงานทดแทน

แผนพัฒนาองค์การ PMQA หมวด 4 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รหัส เจ้าภาพหลัก ลำดับ แผนพัฒนาองค์การ ผู้รับผิดชอบ IT3 สนพ. (ฝ่ายเลขาฯ) ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการสนับสนุน IT3(8) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับปรุงระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ พพ. IT3(9) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เรียนรู้ พัฒนาระบบจัดเก็บฐานข้อมูลถามตอบกระทู้กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ชธ. IT4 พพ./สป.พน. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเหมาะสม IT4(10) แผนการพัฒนา Website ให้มีข้อมูลครบถ้วนทันสมัยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงและสืบค้นได้ ทุกกรม IT5 ธพ. ระบบติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย IT5(11) แผนการปรับปรุงระบบรายงานการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง IT6 ระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT6(12) แผนพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT7 แผนการจัดการความรู้ IT7(13) แผนการจัดการความรู้ (KM) KM1: การเตรียมความพร้อมในการเปิดสัมปทานปิโตรเลียม ครั้งที่ 21 KM2: นโยบายการปรับโครงสร้างราคาก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) KM3: โครงการจัดการความรู้เกี่ยวกับน้ำมันหล่อลื่น KM4: ความรู้เกี่ยวกับการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ (E10, E20, E85) อย่างมีประสิทธิภาพ KM5: ทฤษฎีและองค์ประกอบการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน สป.พน.

IT1(1) แผนการพัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูล เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน - สป.พน. /สนพ. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. วิเคราะห์ และทบทวนข้อมูลที่จำเป็นในการดำเนินงานแต่ละยุทธศาสตร์ x 2. คัดเลือกข้อมูลที่จำเป็นในการดำเนินงาน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลใหม่ หรือปรับปรุงฐานข้อมูลเดิมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดย CIO หรือ CEO เป็นผู้อนุมัติ 3. พัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูล ตามแนวทางที่กำหนด CEO กระทรวง ลงนามเห็นชอบการคัดเลือกฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน PMQA หมวด 4 เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2554

การคัดเลือกฐานข้อมูลใหม่เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ ปรับปรุงระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระทรวงพลังงาน (ระยะที่ 3) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การกำกับดูแลกิจการพลังงานและกิจการที่เกี่ยวข้อง พัฒนาฐานข้อมูล LNG (เชื่อมโยงกับ IT2) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคธุรกิจพลังงาน ศึกษาเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลศูนย์ให้คำปรึกษาธุรกิจพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาพลังงานอย่างมีดุลยภาพต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาฐานข้อมูลก๊าซชีวภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงที่ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล ปรับปรุงฐานข้อมูลพลังงานร่วมกับ IEA และ APEC

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ปรับปรุงระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กระทรวงพลังงาน (ระยะที่ 3) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 30 % - สป.พน. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. ออกแบบฐานข้อมูล GIS ให้มีมาตรฐานรองรับฐานข้อมูลแบบ Geo Database   x 2.ปรับปรุงระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการแสดงผลและเผยแพร่ข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย 3.ปรับปรุงระบบสืบค้นและแสดงผลรายงานข้อมูลภูมิสารสนเทศด้านพลังงาน 4. มีระบบรับส่งข้อมูลสารสนเทศพลังงานผ่านระบบเครือข่าย 5. มีเว็บไซต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อเป็นเว็บท่า(Web Portal) สำหรับหน่วยงานสังกัดกระทรวงพลังงาน ความก้าวหน้า: อยู่ระหว่างการออกแบบฐานข้อมูล GIS โดยคาดว่าจะออกแบบแล้วเสร็จภายในเดือนกรกฎาคม ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ศึกษาเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลศูนย์ให้คำปรึกษาธุรกิจพลังงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 90 % - สป.พน. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. กรณีศึกษาหน่วยงานภายนอกของภาครัฐที่มีความคล้ายคลึง   x 2. ทบทวนพันธกิจและความเชื่อมโยงของหน่วยงานภายใต้สังกัดเพื่อไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนของภารกิจของหน่วยงานที่จะตั้งขึ้นใหม่ x  3. นำผลที่ได้จากการวิเคราะห์การกำหนดภารกิจ มาจัดทำแผนการสร้างฐานข้อมูลเพื่อรองรับภารกิจ 4. สัมมนารับฟังความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงระบบฐานข้อมูลที่สนับสนุนผู้ประกอบธุรกิจ ความก้าวหน้า:  จัดสัมมนารับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาธุรกิจพลังงาน ครั้งที่ 1 แล้ว เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2554  การดำเนินการขั้นต่อไป คือนำผลจากการวิเคราะห์การกำหนดภารกิจมาจัดทำโครงสร้าง พันธกิจ บุคลากร ลักษณะงาน และข้อมูลในการจัดทำฐานข้อมูลของศูนย์ให้คำปรึกษาฯ โดยคาดว่าจะจัดสัมมนาครั้งที่ 2 ภายในเดือนสิงหาคม 2554 ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 70 % - ทุกกรม - IT1(2) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการของกระทรวงพลังงานย้อนหลัง 4 ปี และปีปัจจุบัน ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 70 % - ทุกกรม - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. รวบรวมตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงพลังงาน ย้อนหลัง 4 ปี (พ.ศ.2550-2553) และปีปัจจุบัน (พ.ศ.2554) x 2. รวบรวมตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานระดับกรม ย้อนหลัง 4 ปี (พ.ศ.2550-2553) และปีปัจจุบัน (พ.ศ.2554) 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการปรับปรุงข้อมูลผลการดำเนินงาน และค่าคะแนนในแต่ละตัวชี้วัด ความก้าวหน้า:  มีข้อมูลผลการดำเนินงานและค่าคะแนนของตัวชี้วัด ปี 2550-2553 แล้ว  รอปรับปรุงผลการดำเนินงานและค่าคะแนนของตัวชี้วัด ปี 2554 รอบ 12 เดือน อีกครั้ง ก่อนการตรวจประเมิน ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

IT2 ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่า - สนพ. (ฝ่ายเลขาฯ) - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นในการดำเนินงานเกี่ยวกับกระบวนการสร้างคุณค่าและทบทวนข้อมูลที่จัดทำไว้ในปี 2552-2553 x 2. คัดเลือกข้อมูลที่จำเป็นในการปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูลใหม่ เพื่อสนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่า โดย CIO หรือ CEO เป็นผู้อนุมัติ CEO กระทรวง ลงนามเห็นชอบการคัดเลือกฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน PMQA หมวด 4 เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2554

IT2(3) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการกำหนดนโยบาย มาตรการ และกฎระเบียบด้านพลังงาน และติดตามประเมินผล (พัฒนาฐานข้อมูล LNG) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 60 % - สนพ. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล LNG จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   x 2. ออกแบบระบบฐานข้อมูล LNG ให้เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลพลังงานของประเทศ 3. พัฒนาระบบฐานข้อมูล LNG 4. ออกแบบและจัดทำรายงานผลข้อมูล LNG 5. เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ ความก้าวหน้า: นำเข้าข้อมูลปริมาณการนำเข้า และราคา LNG เดือนพฤษภาคม 2554 ในระบบฐานข้อมูลแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างการออกแบบและจัดทำรายงานผลข้อมูล LNG ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 80 % - สนพ. - IT2(4) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการประสานความร่วมมือ และสร้างเครือข่ายด้านพลังงาน (ปรับปรุงฐานข้อมูลพลังงานร่วมกับ IEA และ APEC) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 80 % - สนพ. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. ทบทวนข้อมูลที่จัดส่งให้องค์กรต่างประเทศ   × 2. ปรับปรุงข้อมูลตามที่ได้ทบทวนหรือหารือกับองค์กรต่างประเทศ 3. ปรับปรุงฐานข้อมูลและจัดทำรายงานเพื่อส่งให้องค์กรต่างประเทศ  × ความก้าวหน้า:  ปรับปรุงข้อมูล LPG โดยแยกการรายงานปริมาณการผลิต LPG จากโรงกลั่น และแหล่งอื่นๆ ตามแนวทางที่ได้หารือกับองค์กรต่างประเทศแล้ว  ปัจจุบันอยู่ในขั้นตอนการจัดทำรายงานส่งให้องค์กรต่างประเทศเป็นรายเดือน ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

IT2(5) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการจัดหาพลังงาน (ปรับปรุงฐานข้อมูลศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย) - พพ. - ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 74 % กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. ศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ระบบฐานข้อมูลชีวมวล ในประเทศไทยของ พพ. และหน่วยงานต่างๆ   × 2. ศึกษารวบรวมและสำรวจข้อมูลชีวมวลเชิงพื้นที่ (Area base) จากข้อมูลด้านการเกษตรของพื้นที่ทำการเพาะปลูก พื้นที่ ที่มีศักญภาพอย่างน้อย 3 ภูมิภาค ในประเทศไทย ย้อนหลังอย่างน้อย 5 ปี 3. สำรวจข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมที่เป็นแหล่งรวบรวม ชีวมวล พร้อมทั้งประเมินศักยภาพด้านชีวมวลคงเหลือ ของแต่ละโรงงานอุตสาหกรรม 4. สำรวจข้อมูลโรงไฟฟ้าชีวมวลในประเทศไทย 5. สำรวจข้อมูลในโรงงานในแต่ละชีวมวลที่คาดว่ามีการใช้ หรือมีศักยภาพในการนำชีวมวลไปใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า และ/หรือพลังงานความร้อนทั้งผลิตเพื่อใช้เองและหรือเพื่อจำหน่าย 6. สำรวจข้อมูลด้านการใช้เทคโนโลยี พร้อมทั้งวิเคราะห์หาดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของกลุ่มโรงงาน ที่ได้ทำการศึกษาในข้อ 4 และ 5 7. วิเคราะห์และออกแบบต้นแบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร์ หรือเทคโนโลยีอื่นๆ โดยสามารถใช้ได้ดี และเหมาะสมกับฐานข้อมูลเดิมของกรม

IT2(5) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการจัดหาพลังงาน (ปรับปรุงฐานข้อมูลศักยภาพชีวมวลในประเทศไทย) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 74 % - พพ. - ความก้าวหน้า: 1. ปัจจุบันอยู่ระหว่างการสำรวจข้อมูล 4 รายการ โดยคาดว่าจะดำเนินการ สำรวจข้อมูลแล้วเสร็จภายในเดือนกรกฎาคม 2554 ข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรมที่เป็นแหล่งรวบรวมชีวมวล ข้อมูลโรงไฟฟ้าชีวมวลในประเทศไทย ข้อมูลโรงงานที่คาดว่ามีการใช้ หรือมีศักยภาพในการนำชีวมวลไปใช้ ในการผลิตไฟฟ้าหรือความร้อน ข้อมูลด้านการใช้เทคโนโลยี พร้อมทั้งข้อมูลดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ของโรงไฟฟ้าชีวมวล และโรงงานที่คาดว่ามีการใช้ชีวมวล ในการผลิตไฟฟ้าหรือความร้อน 2. เริ่มดำเนินการวิเคราะห์ และออกแบบต้นแบบฐานข้อมูลฯ บางส่วนแล้ว ปัญหา อุปสรรค: 1. มีอุปสรรคในขั้นตอนการคัดเลือกพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูล ทำให้ในช่วง เดือน เม.ย. – พ.ค. ดำเนินงานล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด 2. ปัจจุบันเร่งดำเนินการสำรวจข้อมูลตามรายการข้างต้น โดยคาดว่า จะสามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จตามแผนที่กำหนด

IT2(6) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการส่งเสริมด้านพลังงาน (พัฒนาระบบรายงานบัญชีพลังงาน (Energy Balance)) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 80 % - พพ. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. ศึกษาความต้องการระบบ   x 2. วิเคราะห์ความต้องการและออกแบบระบบ 3. พัฒนาต้นแบบของระบบ(Prototyping) 4. ยืนยันต้นแบบระบบ 5. พัฒนาส่วนต่อเชื่อมกับผู้ใช้งาน (User Interface) 6. พัฒนาระบบรายงาน (Report Printing) x   x  7. ทดสอบระบบในระดับการทำงานย่อย (Unit Test) 8. ทดสอบระบบงานร่วมกับผู้ใช้งานระบบ (User Acceptance Test) 9. นำรายงาน Energy Balance มาจัดทำรายงานพลังงานของประเทศไทย ความก้าวหน้า: พัฒนาระบบฯ แล้วเสร็จ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการปรับปรุงการรายงานผลตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้งานให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ควบคู่กับการจัดทำรายงานพลังงานของประเทศ ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

IT2(7) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการผลิตพลังงานทดแทน (พัฒนาฐานข้อมูลก๊าซชีวภาพ) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 70 % - สนพ./พพ. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. รวบรวมข้อมูลการผลิตก๊าซชีวภาพ ในประเทศไทย   x 2. ออกแบบฐานข้อมูลและนำเข้าข้อมูล ให้เป็นปัจจุบัน 3. ออกแบบรายงานและประมวลผลข้อมูลโดยแบ่งเป็นภาคปศุสัตว์ ภาคอุตสาหกรรม และอื่นๆ 4. ตรวจสอบความถูกต้องและปรับปรุงรายงาน 5. เผยแพร่รายงานผ่านทางเว็บไซต์ ความก้าวหน้า:  นำเข้าข้อมูลในระบบ และออกแบบการรายงานผลข้อมูลแล้ว  ปัจจุบันอยู่ระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องของการรายงานผลข้อมูล ก่อนเผยแพร่ รายงานผ่านทางเว็บไซต์ ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

IT3 ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการสนับสนุน - สนพ. (ฝ่ายเลขาฯ) - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นในการดำเนินงานเกี่ยวกับกระบวนการสนับสนุนและทบทวนข้อมูลที่จัดทำไว้ในปี 2552-2553 x 2. คัดเลือกข้อมูลที่จำเป็นในการปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูลใหม่ เพื่อสนับสนุนกระบวนการสนับสนุน โดย CIO หรือ CEO เป็นผู้อนุมัติ CEO กระทรวง ลงนามเห็นชอบการคัดเลือกฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน PMQA หมวด 4 เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2554

IT3(8) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ปรับปรุงระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 90 % - พพ. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. ประชุมชี้แจง สำรวจความต้องการ และส่งมอบโปรแกรมมาตรฐาน   x 2. ปรับปรุง พัฒนา และทดสอบโปรแกรมระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 3. จัดฝึกอบรมการใช้งานระบบ และเปิดใช้งานจริง (Implement) ความก้าวหน้า:  จัดทำโปรแกรมและคู่มือการใช้งานระบบ พร้อมทั้งฝึกอบรมการใช้งานระบบแก่ผู้ใช้งานแล้ว  ปัจจุบันอยู่ระหว่างการปรับแก้ไขระบบบางส่วนตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้งาน ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

IT3(9) แผนการพัฒนาฐานข้อมูลกระบวนการสื่อสาร แลกเปลี่ยน เรียนรู้ (พัฒนาระบบจัดเก็บฐานข้อมูลถามตอบกระทู้กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 70 % - ชธ. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. ศึกษาปัญหาและความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบ   x 2. ประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อกำหนดความต้องการของระบบ 3. ร่างขอบเขตการดำเนินงาน (TOR) 4. ออกแบบและพัฒนาระบบ 5. ทดสอบการใช้งานระบบ ความก้าวหน้า: ปัจจุบันอยู่ระหว่างการออกแบบและพัฒนาระบบ คาดว่าจะดำเนินการได้แล้วเสร็จตามแผนงาน ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

IT4(10) แผนการพัฒนา Website ให้มีข้อมูลครบถ้วนทันสมัยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงและสืบค้นได้ - พพ./สป.พน. - ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 20 % กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. จัดตั้งคณะทำงานพัฒนา Website x 2. ทบทวนงานบริการ และทบทวนข้อมูลหรือความรู้ที่เกี่ยวข้องของส่วนราชการเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าใช้ได้ในปีที่ผ่านๆ มา (รวมถึงการติดตามความครบถ้วนของข้อมูลตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสารฯ ปี 2540 มาตรา 9) 3. วิเคราะห์งานบริการ และวิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นหรือความรู้ที่เกี่ยวข้องของส่วนราชการเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าค้นหาได้ รวมทั้งทำการตรวจสอบสถานภาพความทันสมัยของข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล เช่น มีการ Update ข้อมูลเป็นรายวัน รายเดือน และรายปี เป็นต้น 4. จัดทำแบบสอบถามความต้องการและความพึงพอใจของประชาชนในด้านข้อมูลธุรกิจพลังงานและปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการนั้น 5. คัดเลือกงานบริการ และข้อมูลหรือความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาหรือจัดทำฐานข้อมูลขึ้นใหม่เพื่อให้ประชาชนเข้าค้นหาได้เพิ่มเติมอย่างน้อย 1 ข้อมูล โดย CIO หรือCEO เป็นผู้อนุมัติ 6. ปรับปรุงข้อมูลใน Website ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับความต้องการ และพัฒนางานบริการ พัฒนาข้อมูลหรือความรู้ที่เกี่ยวข้อง

สรุปผลความพึงพอใจของผู้เข้าถึง หรือเข้ามาใช้ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บไซด์ของส่วนราชการ ความก้าวหน้า: 1. พพ. อยู่ระหว่างดำเนินการแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนา website 2. คาดว่าจะประชุมคณะทำงานพัฒนา website เพื่อวิเคราะห์ ทบทวน และคัดเลือกงานบริการ และข้อมูลหรือความรู้ที่จะพัฒนาใหม่ได้ ภายในเดือนกรกฎาคม 2554 ปัญหา อุปสรรค: ความล่าช้าในการแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนา website % อยู่ระหว่างการประมวลผลข้อมูล คะแนนเต็ม 5 พึงพอใจ ไม่พึงพอใจ

จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม (คน) อยู่ระหว่างการประมวลผลข้อมูล สรุปผลความพึงพอใจของผู้เข้าถึง หรือเข้ามาใช้ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บไซด์ของส่วนราชการ หน่วยงาน จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม (คน) พึงพอใจ ไม่พึงพอใจ จำนวนคน ร้อยละ สป.พน. 91 87 95.6 4 4.4 พพ. 111 109 98.2 2 1.8 ชธ. ธพ. 542 455 84.0 16.0 สนพ. 200 180 90.5 20 9.5 ภาพรวม พน. (ยกเว้น ชธ.) 942 830 88.1 112 11.9 อยู่ระหว่างการประมวลผลข้อมูล

IT5(11) แผนการปรับปรุงระบบรายงานการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 80 % - ธพ. - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. ศึกษาความต้องการในการปรับปรุงแก้ไขในระบบรายงานการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงใหม่ และจัดเก็บรายละเอียดข้อมูลและสารสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบฯ x 2. วิเคราะห์รายงานการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงใหม่ 3. ออกแบบรายงานการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงใหม่ 4. พัฒนารายงานการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงใหม่ 5. ทดสอบรายงานการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงใหม่ ความก้าวหน้า: อยู่ระหว่างการพัฒนารายงานการสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง ควบคู่กับการทดสอบรายงาน การสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อปรับแก้ไขการรายงานผลให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

IT6(12) แผนพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง ของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ - ทุกกรม - ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 30 % กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. ทบทวนแผนบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ และนโยบายความมั่นคงปลอดภัยในระบบสารสนเทศ x 2. จัดทำนโยบายด้านความมั่นคงในระบบสารสนเทศขององค์กร โดยผ่าน CIO หรือ CEO เห็นชอบ 3. ปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศตามนโยบายความมั่นคง 4. ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ 5. ซักซ้อมการดำเนินการตามแผนแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนและภัยพิบัติ (IT Contingency Plan) ประกาศใช้นโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัย ICT กระทรวงพลังงาน เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2554

ความก้าวหน้าการดำเนินงาน แผนพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ หน่วยงาน การประกาศใช้นโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัย ICT ระดับกรม แผนบริหาร ความเสี่ยง IT แผน IT Contingency Plan เล่มแผน การซักซ้อมแผน สป.พน. อยู่ระหว่าง การพิจารณาของผู้บริหาร  คาดว่าจะซักซ้อมแผนเดือน ส.ค. 54 พพ. (ประกาศ ณ วันที่ 9 มิถุนายน 54) การทบทวนแผน (ซักซ้อมแผน เมื่อวันที่ 29 เมษายน 54) ชธ. อยู่ระหว่างการทบทวนแผน - ธพ. การทบทวนนโยบาย สนพ. (ประกาศ ณ วันที่ 14 มิถุนายน 54) ปัญหา อุปสรรค: การประกาศใช้นโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัย ICT ระดับกรม ล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด

IT7(13) แผนการจัดการความรู้ (KM) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 82 % - ทุกกรม - กิจกรรม/ขั้นตอน ปีงบประมาณ 2554 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. แต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้ ปี 2554 x 2. จัดประชุมคณะทำงานฯ เพื่อจัดทำแผนจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554 3. เสนอแผนการจัดการความรู้ ต่อ CEO หรือ CKO เพื่อขอความเห็นชอบ 4. ดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ 5. ประชุม/ส่งหนังสือติดตามความก้าวหน้า2 ครั้ง การรายงานผลตามแผนการจัดการความรู้ ปัญหา อุปสรรค: ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

สรุปผลการดำเนินงาน KM ปีงบประมาณ 2554 กระบวนการจัดการความรู้ น้ำหนัก หน่วยงาน ชธ. สนพ. ธพ. พพ. สป.พน. การบ่งชี้ความรู้ 15  การสร้างและ แสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ 10 การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้ ส.ค. 27 ก.ค. 4 ส.ค. การเรียนรู้ (Learning) ยกย่องชมเชย รวมน้ำหนัก 100 70 82 %

หมวด 4 : ระดับความสำเร็จ (ตามโปรแกรมประเมินตนเอง) หมวด 4 : ระดับความสำเร็จ (ตามโปรแกรมประเมินตนเอง) เฉลี่ย 71% 93% 87% 89% 76% 66% 64% 20% รอบเวลา IT1 IT2 IT3 IT4 IT5 IT6 IT7 เฉลี่ย 8 เดือน 77% 79% 73% 20% 64% 86% 66% 9 เดือน 87% 89% 76% 93% 71%

ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ

การจัดทำนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศของหน่วยงานของรัฐ ตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549

ความเป็นมา ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐพ.ศ. 2549 กำหนดให้ ... มาตรา 5 หน่วยงานของรัฐต้องจัดทำแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ เพื่อให้การดำเนินการใดๆด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์กับหน่วยงานของรัฐหรือโดยหน่วยงานของรัฐมีความมั่นคงปลอดภัยและเชื่อถือได้ มาตรา 6 ในกรณีที่มีการรวบรวม จัดเก็บ ใช้ หรือเผยแพร่ข้อมูล หรือข้อเท็จจริง ที่ทำให้สามารถระบุตัวบุคคล ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำแนวนโยบายและแนวปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลด้วย มาตรา 7 แนวนโยบายและแนวปฏิบัติตามมาตรา 5 และมาตรา 6 ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำเป็นประกาศ และต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการหรือหน่วยงานที่คณะกรรมการมอบหมาย จึงมีผลบังคับได้

ถ้าต้องจัดทำ ... ทำอย่างไร ? ถ้าต้องจัดทำ ... ทำอย่างไร ? ขั้นตอนปฏิบัติในการจัดส่งแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของหน่วยงานภาครัฐ แบ่งเป็น 4 กระบวนการ คือ 1. การประเมินด้วยตนเอง (self assessment ) 2. การพิจารณาให้ความเห็นเบื้องต้น โดยสำนักงานคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ธอ.) 3. การพิจารณาให้ความเห็น โดยคณะอนุกรรมการความมั่นคง ปลอดภัย 4. การพิจารณาโดยคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

ถ้าต้องจัดทำ ... ทำอย่างไร ? (ต่อ) ถ้าต้องจัดทำ ... ทำอย่างไร ? (ต่อ)

ขั้นตอนการประเมินด้วยตนเอง ( self assessment ) 1. ติดต่อขอรับแบบประเมินประกอบการพิจารณาการดำเนินงาน ตามแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของหน่วยงานภาครัฐจากสำนักงานคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 2. ตรวจสอบการดำเนินงานของหน่วยงานว่ามีการดำเนินงานครบถ้วน ตามข้อกำหนดในประกาศหรือไม่ 3. ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศขององค์กร ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามประกาศของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 4. เมื่อหน่วยงานมีความพร้อม ให้นำเสนอผู้บริหารสูงสุดหรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจลงนามท้ายแบบฟอร์ม ก่อนนำส่งแบบประเมินพร้อมเอกสารอ้างอิงให้ ธอ.

สถานะการดำเนินงานปัจจุบัน ปัจจุบันมีหน่วยงานแจ้งการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 79 หน่วยงาน ดังนี้ กลุ่มหน่วยงาน จำนวน ผ่านความเห็นชอบจาก คธอ. 8 หน่วยงาน รอนำเสนออนุกรรมการความมั่นคงปลอดภัย 6 หน่วยงาน ส่งเรื่องคืนเนื่องจากการดำเนินงานไม่ ครบถ้วน อยู่ระหว่างการตรวจ และประสานงาน 59 หน่วยงาน

สถานะการดำเนินงานปัจจุบัน หน่วยงานที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 8 หน่วยงาน คือ 1. ธนาคารแห่งประเทศไทย 2. สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 3. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า 4. ธนาคารออมสิน 5. กรมการค้าต่างประเทศ 6. สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย 7. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 8. การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

แนวทางดำเนินการของแต่ละกรม ? ประเด็นหารือ ... แนวทางดำเนินการของแต่ละกรม ?