ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
ถุงเงิน ถุงทอง.
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจากประชาชน/
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัด :3.2 ระดับความสำเร็จในการแก้ไขเรื่อง ร้องเรียนจากประชาชน / ผู้รับบริการ โดย กองกลาง สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร น้ำหนัก คะแนน : โดยนำผลคะแนนรวมในขั้นตอนที่
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
ตัวชี้วัดที่ 3.5 ร้อยละของคุณภาพการบริการ ของสำนักงานเขต
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
เป็นการสร้างช่องทางการ สื่อสารด้วยแผ่นภาพที่อาศัย รูปภาพใบหน้าในลักษณะ ต่างๆ พร้อมตัวหนังสือตัว โตๆที่มีสีสันสะดุดตา ทำให้ ผู้อ่านเข้าใจง่ายเมื่อพบเห็น.
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
1 ชื่อตัวชี้วัด 31 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ หน่วยงานผู้กำกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เป้าหมาย : เป้าหมาย : ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ร้อยละ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก. ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละความสำเร็จของการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้วยระบบ Lean ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก. น้ำหนัก : ร้อยละ Line Staff Line & Staff 4

คำอธิบาย Lean คือ กระบวนการในการ บริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การทำงานและลดความสูญเปล่าที่เกิด จากการทำงานทั้งเรื่องของ ขั้นตอน เวลา ค่าใช้จ่าย แรงงาน และทรัพยากร ฯลฯ

การคำนวณประสิทธิภาพ หมายถึง การวิเคราะห์ขั้นตอนหรือกิจกรรมของกระบวนงาน โดย ขั้นตอนหรือกิจกรรมที่มีคุณค่ากับผู้รับบริการ ขั้นตอนหรือกิจกรรมที่ไม่มีคุณค่าสำหรับผู้รับบริการแต่จำเป็นต้องทำ ขั้นตอนหรือกิจกรรมใดไม่มีคุณค่าสำหรับผู้รับบริการ และไม่จำเป็นต้องทำ

Pre Lean หมายถึง การคำนวณประสิทธิภาพ ของงานที่ยังไม่มีการตัดขั้นตอน หรือกิจกรรม ที่เป็นความสูญเปล่าออก เวลารวมของขั้นตอนฯ ที่มีคุณค่า (สีเขียว) x100 เวลาทั้งหมดของกระบวนงาน (เขียว+เหลือง+แดง)

Post Lean หมายถึง การคำนวณ ประสิทธิภาพของการทำงานที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น หลังวิเคราะห์และตัดความสูญเปล่าใน กระบวนงานออกไปแล้ว เวลารวมของขั้นตอนฯ ที่มีคุณค่า (สีเขียว) x100 เวลาทั้งหมดของกระบวนงาน (เขียว+เหลือง)

เกณฑ์การประเมินผล แบ่งเป็น 2 ด้าน ด้านที่ 1 การดำเนินการตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงานด้วยระบบ Lean ของ หน่วยงาน (100 คะแนน) ด้านที่ 2 การจัดทำแผนการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทำงานด้วยระบบ Lean ของหน่วยงาน เพื่อ นำไปดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (50 คะแนน)

ประสิทธิภาพการดำเนินงาน ด้านที่ 1 การดำเนินการตามแผนการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้วยระบบ Lean ของหน่วยงาน (100 คะแนน) แบ่งเป็น 2 องค์ประกอบ ประสิทธิภาพการดำเนินงาน (30 คะแนน) (A) ผลสำเร็จของการดำเนินการตามตัวชี้วัด (70 คะแนน) (B) ประสิทธิภาพที่ทำได้จริง* X 30 Post Lean ผลสำเร็จที่ทำได้จริง X 70 เป้าหมายของตัวชี้วัดที่กำหนด ผลสำเร็จการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงานด้วยระบบ Lean = A + B x 100 100 * ไม่จำกัดจำนวนครั้งที่ทำ ใช้ผลลัพธ์สูงสุด แต่ต้องการดำเนินการตามแผนฯ ทุกครั้ง

การจัดส่งแผนฯ ให้สำนักงาน ก.ก. ด้านที่ 2 การจัดทำแผนการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้วยระบบ Lean ของหน่วยงาน เพื่อนำไปดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (50 คะแนน) การจัดส่งแผนฯ ให้สำนักงาน ก.ก. ภายใน 31 มี.ค. 2557 มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 0 คะแนน 1 เม.ย. – 31 ก.ค. 2557 ถูกหัก 10 คะแนน

แนวทางการการจัดทำแผนเพิ่มประสิทธิภาพฯ 1. องค์ประกอบของแผนฯ 1.1 สาเหตุ และความเป็นมาของปัญหา 1.2 สถานการณ์หรือสภาพการณ์ปัจจุบัน 1.3 สถานการณ์หรือผลที่ต้องการในอนาคต 1.4 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาโดยใช้แผนภูมิก้างปลา 1.5 การวางแผนการแก้ไขปัญหา 1.6 การนำแผนการแก้ไขปัญหาไปปฏิบัติ

แนวทางการการจัดทำแผนเพิ่มประสิทธิภาพฯ 2. ลักษณะของกระบวนงานที่นำมาทำ Lean 2.1 อยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานฯ 2.2 ไม่เป็นกระบวนงานเดิม 2.3 มีความถี่ในการทำงาน 2.4 ไม่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ 2.5 ไม่ใช่การปรับเพียงขั้นตอนเดียว หรือปรับเพียงส่วนน้อย 2.6 ไม่ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อความผิดพลาดของงาน หรือไม่ปลอดภัย ต่อผู้ปฏิบัติงาน/ผู้รับบริการ 2.7 ไม่ได้เป็นการโอน/เปลี่ยนให้หน่วยงานอื่นรับผิดชอบ หรือทำงาน แทนหน่วยงานตนเอง

แนวทางการการจัดทำแผนเพิ่มประสิทธิภาพฯ 3. ช่องทางการส่งแผนฯ ให้ สกก. ภายใน 31 มี.ค. 2557 3.1 ทาง Email: Leanbma@gmail.com 3.2 ทางหนังสือถึงสำนักงาน ก.ก. อย่างเป็นทางการ 4. การตรวจสอบแผนฯ 4.1 สกก. จะตรวจสอบ 4.2 กรณีไม่ถูกต้อง สกก. แจ้งหน่วยงาน และหน่วยงานต้องส่งให้ ภายใน 31 ก.ค. 2557

การสรุปคะแนน คะแนนด้านที่ 1 + คะแนนด้านที่ 2 X 100 ร้อยละความสำเร็จของการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงานด้วยระบบ Lean การสรุปคะแนน ด้านที่ 1 (100 คะแนน) ด้านที่ 2 (50 คะแนน) คะแนนด้านที่ 1 + คะแนนด้านที่ 2 X 100 คะแนนเต็มทั้งหมด (150)

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละความสำเร็จของการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้วยระบบ Lean 60 70 80 90 100