สื่อประกอบการเรียนการสอน สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ( ป )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
โรงเรียนวัดสิตาราม สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนผ่องพลอยอนุสรณ์
ออกแบบการนำเทคโนโลยีกระบวนการ
คลิกเลือกหัวข้อตามที่ต้องการได้เลยค่ะ
การเขียนผังงาน.
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
การศึกษารายกรณี.
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ข้อมูลและสารสนเทศ.
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การทำงานของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนเทศบาล ๕ ( วัดหาดใหญ่ )
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1.ด.ช.ณัฐภูมิ คงกระพันธ์ ชั้น ป.4 เลขที่ 3
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
แบบทดสอบก่อน-หลัง เรื่องคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ชื่อสมาชิก น.ส.วิไลพร ยะใจมั่น เลขที่ 4 ชั้น 4.12
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อประกอบการเรียนการสอน สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ( ป. 4 - 6) เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ( ป. 4 - 6) โดย.. น.ส.สาวิตรี ดีสินธุ์ โรงเรียนวัดเกาะสุวรรณาราม สำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร

หน่วยการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ

หน่วยที่ 1 ข้อมูลน่ารู้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกความหมายของข้อมูลได้ เข้าใจวิธีการหาข้อมูลและรวบรวมข้อมูลได้ มีทักษะการจดบันทึก การจัดระเบียบข้อมูล มีนิสัยใฝ่รู้ ช่างสังเกต รวบรวมและสรุปความคิดได้

1.1 เรื่อง ข้อมูล

ข้อมูล ? ข้อมูล หมายถึง ความจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน รอบ ๆ ตัวเรา เช่นข้อมูลบุคคล ข้อมูลสินค้า ข้อมูลคนไข้

ประเภทของข้อมูล ข้อมูลเสียง ข้อมูลตัวเลข ข้อมูล ข้อมูลตัวอักขระ ข้อมูลรูปภาพ

ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลตัวเลข หมายถึง ข้อมูลที่ประกอบด้วย เลข 0 – 9 และสามารถใช้ในการคำนวณได้

ข้อมูลตัวเลข

ข้อมูลตัวอักขระ ข้อมูลตัวอักขระ คือ ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวอักขระ และตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวณ ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศเช่น ทะเบียนรถยนต์ ชื่อ นามสกุล หมายเลขโทรศัพท์ บ้านเลขที่ ฯลฯ

! * ข้อมูลตัวอักษร / % ( - ) ค ง ข ฮ - ะ ก -า

ตัวอย่างข้อมูลเสียง

ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลรูปภาพ คือ ข้อมูลที่เป็นภาพอาจเป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพจาก วีดีทัศน์ ภาพจากรูปถ่าย ฯลฯ

ตัวอย่างข้อมูลภาพ

หนูชื่อ ฝ้าย อายุ 8 ขวบ ทดสอบความเข้าใจ ฝ้าย ข้อมูลตัวอักขระ 8 ขวบ หนูชื่อ ฝ้าย อายุ 8 ขวบ ฝ้าย ข้อมูลตัวอักขระ 8 ขวบ ข้อมูลตัวเลข ใบหน้าที่เห็น ข้อมูลภาพ เสียงที่ได้ยิน ข้อมูลเสียง

ตัดสินใจในการพัฒนาเศรษฐกิจ ข้อมูลด้านการเงิน ประโยชน์ของข้อมูล พยากรณ์อากาศ ข้อมูลภูมิอากาศ วางแผนพัฒนาประเทศ ข้อมูลด้านประชากร ตัดสินใจในการพัฒนาเศรษฐกิจ ข้อมูลด้านการเงิน ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ ประโยชน์ด้านการวิจัย

1.2 การรวบรวมข้อมูล

การรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูล เป็นการนำเอาข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มารวมกัน แล้วบันทึกไว้

ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล

แหล่งที่เก็บข้อมูลไว้แล้ว 1. การเก็บข้อมูล สัมภาษณ์ การตอบแบบสอบถาม จากเอกสาร แหล่งที่เก็บข้อมูลไว้แล้ว สังเกต

บันทึกลงสมุด คอมพิวเตอร์ 2. การบันทึกข้อมูล บันทึกลงสมุด คอมพิวเตอร์

กิจกรรม การรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ 1. นักเรียนจัดกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ตัวแทนกลุ่มจับสลากเลือกหัวข้อเรื่องที่กำหนดให้ 1 เรื่อง - ผลไม้ที่ฉันชอบ - กีฬาที่ฉันชอบ - วิชาที่ฉันชอบ - เพื่อนที่แสนดีของฉัน - สีโปรดของฉันชอบ 2. กลุ่มระดมสมอง วางแผน ดำเนินการสัมภาษณ์เพื่อนในกลุ่มตามหัวข้อที่ได้ 3. บันทักผลที่ได้ลงตารางบันทึกผลการสัมภาษณ์ 4. กลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอตารางบันทึกผลหน้าชั้น และร่วมกันอภิปราย

1.3 เรื่อง ข้อสนเทศ

ข้อสนเทศ / สารสนเทศ ข้อสนเทศ หรือ สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้เป็นข้อมูลที่สื่อความหมายและเป็นประโยชน์ เช่น จากข้อมูลการแจ้งเกิดของเด็กไทยทุกอำเภอ เมื่อถึงสิ้นปีสามารถคำนวณ จำนวนเด็กที่เกิดใหม่ของประเทศในปีนั้น ๆ จะทราบว่าในปีนี้มีเด็กไทยเกิดใหม่ทั้งสิ้นกี่คน และสามารถบอกได้ว่ามีเพศหญิงกี่คน เพศชายกี่คน

แผนผังการเกิดสารสนเทศ ข้อมูล ประมวลผล สารสนเทศ

1. ช่วยให้เราทราบข้อมูลที่แท้จริง ประโยชน์ของข้อสนเทศ 1. ช่วยให้เราทราบข้อมูลที่แท้จริง 2. ช่วยให้เราสามารถตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูลที่ถูกต้อง 3. ช่วยให้เราสามารถวางแผนได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรมฝึกทักษะการคิด ถ้านักเรียนต้องการจัดงานเลี้ยงฉลองวันปิดภาคเรียน โดยจะให้มีขนม อาหารว่าง และเครื่องดื่ม รับประทานร่วมกันในบ่ายของวันสุดท้ายของการเรียน นักเรียนจะแผนการจัดงานอย่างไร ร่วมกันอภิปราย

หน่วยที่ 2 การจัดเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เข้าใจในการจัดเก็บแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์ 2. เปรียบเทียบการจัดเก็บข้อมูลในชีวิตประจำวันกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ 3. เปรียบเทียบอุปกรณ์การจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้

2.1 เก็บในลักษณะแฟ้มข้อมูล

ตัวอย่าง ใบประวัตินักเรียน ตัวอย่าง ใบประวัตินักเรียน เลขประจำตัว 3167 ชื่อ เด็กหญิง ประภัสสร นามสกุล เจียมวงษา เพศ หญิง วัน/เดือน/ปี เกิด 19 เมษายน 2537 อายุ 9 ปี สำเร็จการศึกษาชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียน อุดมวิทยา บิดาชื่อ นายสุรชัย นามสกุล เจียมวงษา อายุ 48 ปี อาชีพ ค้าขาย สถานที่ทำงาน 67 /53 ถนนลาดพร้อม กทม. 10310 มารดาชื่อ นางกอบกุล นามสกุล เจียมวงษา อายุ 41 ปี อาชีพ ค้าขาย สถานที่ทำงาน 67/53 ถนนลาดพร้อม กทม. 10310

ระเบียนประวัติ ใบประวัติ แฟ้มข้อมูล ตู้เอกสาร

2.2 การจัดเก็บแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์ 2.2 การจัดเก็บแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์

การจัดเก็บแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ในระบบคอมพิวเตอร์จัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มข้อมูล เช่นเดียวกับการจัดเก็บข้อมูลในตู้เอกสาร ซึ่งเราจะได้รับประโยชน์มากกว่าการจัดเก็บในตู้เอกสารธรรมดา

ประโยชน์ของการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะแฟ้มข้อมูล 1. สามารถรวบรวมข้อมูลให้เป็นระเบียบ 2. ค้นหาหรือสืบค้นข้อมูลได้ง่าย 3. ข้อมูลไม่สูญหาย

ประโยชน์ 1. ช่วยให้สามารถค้นหาข้อมูลได้เร็วกว่า เพราะคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วกว่าคน 2. ช่วยสำรองข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็วป้องกันข้อมูลสูญหายได้ 3. สามารถสืบค้นข้อมูลตามที่ต้องการได้รวดเร็ว เช่น ค้นหาจากเลขประจำตัว หรือ ค้นหาจากชื่อ นามสกุล เป็นต้น 4. ข้อมูลในแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขให้เป็นปัจจุบันได้ง่าย

โครงสร้างการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ตัวอักษรหรือตัวเลข ก ข ค ง A B C 1 2 3 .. เขตข้อมูล กานดา ระเบียนข้อมูล กานดา มีเพียร 22/7/2539 กทม 10400 กานดา มีเพียร 22/7/2539 กทม 10400 สมคิด พึงใจ 4/12/2539 ยะลา 95000 แฟ้มข้อมูล

2.3 การจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ 2.3 การจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ

แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถเก็บลงสื่อ ( Media ) ตัวอย่างดังนี้ แผ่นดิสก์(Diskette) แผ่นซีดี (Compact Disk ) ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)

หน่วยที่ 3 คน..คอมฯทำงานเหมือนกัน ? หน่วยที่ 3 คน..คอมฯทำงานเหมือนกัน ?

การรับข้อมูล คอมพิวเตอร์ คน รับข้อมูลด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย รับข้อมูลทางอุปกรณ์รับข้อมูล เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด

การประมวลผล คอมพิวเตอร์ คน นำข้อมูลที่ได้มาประมวลผลโดยใช้สมอง ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาคำนวณและประมวลผลด้วยซีพียู

แสดงผลด้วยท่าทาง / การพูด การแสดงผล คอมพิวเตอร์ คน แสดงผลด้วยท่าทาง / การพูด แสดงผลออกทางจอภาพ

การบันทึกข้อมูล คอมพิวเตอร์ คน บันทึก ลงสมุด / กระดาษ หรือการจำ บันทึกลงอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสก์ แผ่นซีดี

หน่วยที่ 4 ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์