รางวัล R2R ดีเด่นระดับตติยภูมิ โดยสำนักวิจัยระบบสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
สู้ “เบาหวาน – ความดัน” ด้วยจราจรชีวิตกับ 3 อ. พิชิตโรค
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ระบาดวิทยาและ SRRT.
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลการดำเนินงานโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
สถานการณ์ภาวะตาบอดในประเทศไทย
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
ผลการดำเนินงานตามแนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา จังหวัดปราจีนบุรี ตุลาคม 2556 – มิถุนายน 2557 พญ. นิภาภรณ์ มณีรัตน์
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
นโยบายกรมการแพทย์ ในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการและการบริการตติยภูมิและศูนย์รับส่งต่อภูมิภาค โดย นายแพทย์เรวัต วิศรุตเวช อธิบดีกรมการแพทย์
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รางวัล R2R ดีเด่นระดับตติยภูมิ โดยสำนักวิจัยระบบสาธารณสุข “การลดระยะเวลารอรับการรักษาด้วยเลเซอร์ ในผู้ป่วยเบาหวานเข้าจอตาที่เสี่ยงต่อตาบอดในเขตชนบท โดยการส่งปรึกษาทางอินเตอร์เน็ต” อัจฉรา นิธิอภิญญาสกุล พบ. ณัฐชัย นิธิอภิญญาสกุล พบ. เบญจพร แก้วพระพาน อุไรรัตน์ คิดเห็น รัตติยา กระบวนรัตน์ ศศิธร คำพุฒ กลุ่มงานจักษุวิทยา รพ.มหาราชนครราชสีมา

บทนำ โดยตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรักษาเบาหวานเข้าจอตา การเพิ่มจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน (ในประเทศไทยพบความชุกของเบาหวานร้อยละ9.6) ภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานที่พบได้ คือ ไต ตา หัวใจและหลอดเลือด จักษุแพทย์สามารถป้องกันตาบอดจากเบาหวานเข้าจอตาได้ โดยตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรักษาเบาหวานเข้าจอตา การคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา ในจ.นครราชสีมา ได้ดำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี2538 จนถึงปัจจุบัน

ปัญหาที่พบจากระบบบริการตรวจตาผู้ป่วยเบาหวาน ของ จ.นครราชสีมา ในปี 2538 1) การบริการแบบตั้งรับ 2) ครอบคลุมการคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา 2.7% 3) ความซับซ้อนของการคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา - ต้องหยอดยาขยายม่านตา - ตรวจด้วย Indirect ophthalmoscope - ใช้เวลาตรวจนาน ใช้บุคลากรทั้งจักษุแพทย์ พยาบาล 4) ระยะเวลารอรับการรักษาด้วย LASER : -รอคิวรักษา 1-2 เดือน -เครื่อง laser สมัยก่อน (argon laser) ยิงยาก ใช้เวลานาน -นัดผู้ป่วยได้ไม่มาก -ความชำนาญของจักษุแพทย์

การพัฒนาระบบบริการตรวจคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา R2R (version1) พศ. 2539-2547 1)

ปัญหาที่พบ และรอการแก้ไข พศ. 2539-2547 R2R (version1) ผลลัพธ์ที่ดีขึ้นกว่า ปี 2538 ปัญหาที่พบ และรอการแก้ไข พัฒนางานเชิงรุกของทีมจักษุ ทำงานร่วมกันกับทีม รพช. เพิ่มการครอบคลุมคัดกรองจาก2.7% เป็น 25% ป้องกันตาบอดในผู้ป่วยเบาหวานเข้าจอตาโดย Laser 94 ราย 1) วิธีการตรวจคัดกรองที่ง่าย และสะดวกขึ้น 2) ระยะเวลารอรักษาด้วย Laser ที่สั้นลง

การพัฒนาระบบบริการตรวจคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา R2R (version2) พศ.2548-2549 2)ใช้กล้องถ่ายภาพจอตาหมุนเวียน 26 รพช. ฝึกพยาบาลรพช. ถ่ายภาพ แพทย์รพช.อ่านภาพจอตา

ปัญหาที่พบ และรอการแก้ไข พศ. 2548-2549 R2R (version2) ผลลัพธ์ที่ดีขึ้นกว่า ปี 2547 ปัญหาที่พบ และรอการแก้ไข 1) พัฒนาวิธีการตรวจเป็นกล้องถ่ายภาพ 2) ลด workload จักษุแพทย์ 3) คนไข้สะดวก วิธีการตรวจง่าย 4) เพิ่มการครอบคลุมการตรวจ คัดกรองจาก 25% เป็น 34% 5) ป้องกันตาบอดในผู้ป่วยเบาหวานเข้าตาโดย Laser 459 ราย (4.8 เท่า) คุณภาพของภาพถ่ายจอตา - กล้อง 2ล้านพิกเซล, การดูแลกล้อง - พยาบาล รพช.ไม่คุ้นเคยการถายภาพ cons 2) ความล่าช้าการรอการรักษาด้วยLaser นานถึง 81+0.6 days

การตรวจคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา คำถามวิจัย ปี 2550-2551 (R2R version3) การตรวจคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา เชิงรุกโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถลดระยะเวลาการรอรับการรักษาด้วยเลเซอร์ ในผู้ป่วยเบาหวานเข้าจอตาที่เสี่ยงต่อตาบอด ในพื้นที่เขตชนบทของ จ. นครราชสีมา?

พัฒนาระบบบริการตรวจคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา R2R (version3) พศ.2551 ศีกษานำร่องใน 3 รพช. จ.นครราชสีมา 2) จัดกล้องถ่ายภาพใหม่ หมุนเวียนทุกรพช. 1)อบรมการอ่านภาพจอตาให้ พยาบาล รพช.ทุกอำเภอ 3) จ้างเจ้าหน้าที่เทคนิค ถ่ายจอตา ดูแลกล้อง ประสานจักษุแพทย์ 5) จักษุแพทย์นัดหมายการรักษา พยาบาลรพช.ส่งผู้ป่วยมารพ.มหาราชเพื่อยิง laser 4) พยาบาล รพช. ส่งปรึกษาภาพจอตาผู้ป่วยเบาหวานเข้าตาที่เสี่ยงต่อตาบอด กับจักษุแพทย์ทาง internet

การส่งปรึกษาทางอินเตอร์เน็ต

การส่งปรึกษาทางอินเตอร์เน็ต

การส่งปรึกษาทางอินเตอร์เน็ต

เปรียบเทียบการพัฒนาระบบการคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา ปี 2549 ปี 2551 (หลังการพัฒนาIT) การอบรม จนท. รพช. 2) การหมุนเวียน กล้องถ่ายภาพ 3) การส่งปรึกษา จักษุแพทย์ 4) ครอบคลุม การคัดกรองของ3รพช. 5) ระยะเวลารอรับ การรักษาด้วย Laser 6) ความเห็นพ้องกับจักษุแพทย์ ในการวินิจฉัยผู้ป่วยเสี่ยงตาบอด พยาบาล ถ่ายภาพจอตา แพทย์ อ่านภาพจอตา -จ้างเจ้าหน้าที่เทคนิค ถ่ายภาพจอตา -พยาบาล อ่านภาพจอตาเบื้องต้น - กล้อง 5 ล้านพิกเซล ขึ้นกับจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน โดย ตรวจได้วันละ 100-150 ราย -กล้อง 2 ล้านพิกเซล -หมุนเวียน รพช.ละ 10 วัน แพทย์รพช.อ่านภาพแล้วส่ง CD-ROM ภาพทั้งหมดให้จักษุแพทย์ ส่งปรึกษาทางinternet ทันที ที่พบเบาหวานเข้าจอตาที่เสี่ยงตาบอด 76% 22% 81+0.6 วัน 13.4+ 0.2 วัน แพทย์รพช. พอใช้ (K=0.58) พยาบาลรพช. พอใช้ (K=0.44)

สรุป: การพัฒนาระบบการคัดกรองและการรักษา ภาวะเบาหวานเข้าจอตาในเขตชนบท จ สรุป: การพัฒนาระบบการคัดกรองและการรักษา ภาวะเบาหวานเข้าจอตาในเขตชนบท จ.นครราชสีมา ลดความแออัดของผู้ป่วยใน รพ.มหาราช (20,000 รายต่อปี) 2) เพิ่มโอกาสให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการได้ง่ายขึ้น 3) เพิ่มคุณภาพการวินิจฉัยโรคเบื้องต้น 4) ลดระยะเวลาการรอรับการรักษาด้วย laser ในผู้ป่วยกลุ่มเบาหวานที่เสี่ยงต่อตาบอด 5) เพิ่มศักยภาพของทีมรพช.ในการตรวจตัดกรองเบาหวานเข้าจอตา

เปรียบเทียบการคลอบคลุมการคัดกรองเบาหวานเข้าจอตาตั้งแต่ปี2538-2551 การรักษาด้วยเลเซอร์ No of patients จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน (48%) การคัดกรองเบาหวาน เข้าจอตาในชนบท (33%) (20%)

ข้อเสนอแนะ 1) จักษุแพทย์ควรจัดอบรมและเพิ่มทักษะการอ่านภาพจอตา ตลอดจนทดสอบความรู้ผู้อ่านภาพจอตาให้แก่ทีม รพช. ทุกปี 2) พัฒนา website ของ รพ.มหาราชเพื่อให้ทีมรพช.สะดวกในการส่งปรึกษาและเพื่อจักษุแพทย์สามารถอ่านภาพจอตาที่ส่งปรึกษาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น 3) พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลของภาพจอตาผู้ป่วยเบาหวานทั้งจังหวัด

จากการทำงานพัฒนาระบบ ตรวจคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา บทเรียน จากการทำงานพัฒนาระบบ ตรวจคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา 10 กว่าปีที่ผ่านมา จุดมุ่งหมายเดียวกันช่วยผู้ป่วยเบาหวานไม่ให้ตาบอด การทำงานเป็นทีม - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งทีม รพช. และทีมจักษุ - อดทนต่อปัญหาอุปสรรคที่มากมาย - R2R2R2R…………