การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม 2554 4.3.3 จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
Advertisements

(District Health System)
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
(District Health System)
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสำรวจหา ค่ากลาง

นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจาก โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่นโรคเบาหวาน โรคความดัน โลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และ โรคมะเร็ง อย่างมีบูรณาการและครบวงจร ตั้งแต่การ มีนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการลดปัจจัยเสี่ยงทาง สุขภาพ จัดให้มีการสื่อสารสาธารณะของรัฐเพื่อการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ป้องกันโรค เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพตนเองของประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน การให้บริการเชิงรุก ตลอดจนคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ

S L M

บทบาทของ 5 องค์กรระดับ ท้องถิ่น / ตำบลในการพัฒนา สุขภาพของ ประชาชน อปท รพ สต อสม ผู้นำ ชุมชน กองทุนฯ ตำบล

การพัฒนาสมรรถนะของแผนงาน สุขภาพด้วยค่ากลาง ทุก 3 เดือน ทุก ปี

ค่ากลางคือ อะไร ?

กระบวนการปรับทิศทางของ โครงการสุขภาพด้วยตนเอง

การยกระดับโครงการสุขภาพ ด้วยตนเอง

การกำหนดค่ากลางของ โครงการ ระดั บ 1. ค่ากลาง แสดงงานสำหรับโครงการ ( ก ) ที่พบปฏิบัติอยู่ทั่วไปใน จังหวัด 2. ค่ากลางไม่ใช่มาตรฐานที่ออกโดยกรมวิชาการ 3. หากโครงการ ( ก ) ที่กำลังประเมินมีงานเปรียบเทียบได้กับค่า กลาง ให้คะแนน = 3 4. หากมีงานมากหรือน้อยกว่าค่ากลาง คะแนนจะเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงตามเกณฑ์ที่จังหวัดกำหนด 5. จังหวัดสามารถกำหนดทิศทางการพัฒนาได้โดยการตั้งเกณฑ์ เพื่อผลักดันงานไปในทิศทางที่ต้องการ

การยกระดับโครงการอย่าง ต่อเนื่อง ระดั บ ต้อง ปรับปรุง พอใ ช้ ปาน กลาง ดี ดี มาก

พัฒนา โครงการที่ ต่ำกว่าค่า กลางขึ้น เท่ากับค่า กลาง ยกระดับ มาตรฐาน วิชาการและ สังคม สร้าง นวัตกรรม ต่อเนื่อง สร้าง รร. นวัตกรรม ฯ การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อ เทียบกับค่ากลาง การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน / โครงการเมื่อใช้ค่ากลาง จำน วน ระดั บ รร. นวัตกรรม ฯทำงาน 3

สำรวจและยกระดับค่ากลางของแผนงาน พร้อมสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง มิติ กิจกร รม สร้าง นวัตกรรม

งาน %100% 65 การกำหนดค่ากลางของ แผนงาน / โครงการ กำหนดให้งานที่มีความถี่ไม่น้อยกว่า 65 % ของความถี่สูงสุดเป็นค่ากลางของ โครงการ ได้แก่งานที่ ความถี่สูงสุด ของงานที่พบ จากการสำรวจ (ก)การสำรวจใช้แบบสอบถาม แบบเปิด ( ข ) วิเคราะห์ แยกชนิดงานที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่สำรวจ ( ค ) เรียงลำดับความถี่ของงานที่มีการปฏิบัติจากน้อยไป หามาก

ข้อควรทราบในการ วิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง  งานที่อยู่เหนือเส้น 65% ( เส้นค่ากลาง ) ต้องมี ไม่น้อยกว่า 3 งาน ( ประมาณ 3-5) งานเหล่านี้มี โอกาสถูกกำหนดให้เป็นค่ากลาง  งานที่กำหนดให้เป็นค่ากลางต้องมีอย่างน้อย 1 งานที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) แต่ถ้ามีมากก็ ยิ่งดี  งานที่ไม่ให้ KPI ที่มีอยู่แล้ว ควรละเว้นไม่ กำหนดให้เป็นค่ากลางในอนาคต  พิจารณางานที่ต่ำกว่าเส้นค่ากลางเพื่อยกระดับ ให้อยู่เหนือเส้น โดยเฉพาะงานที่ให้ KPI และ งานที่สอดคล้องกับขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรม  บันทึกข้อมูลการตัดสินใจไว้เพื่อตรวจสอบ ภายหลังเมื่อมีการประเมินผล

ขั้นตอนการเปลี่ยน พฤติกรรมของบุคคล บุคคล  รับรู้  สนใจ  ใคร่ ทดลอง  ก้าวพ้น อุปสรรค  เกิด ค่านิยม ใหม่ กิจกรรม 1. การสื่อสารทาง เดียว 2. การสื่อสารสองทาง 3. ให้โอกาสทดลอง 4. คาดล่วงหน้า เตรียมพร้อม 5. ให้โอกาสปฏิบัติ ซ้ำๆ

สรุป คำแนะนำ เนื่องจากกองทุนฯตำบลได้ผลิตโครงการต่างๆแล้วเป็น จำนวนมาก จึงควรจัดการประชุมกรรมการกองทุนฯเพื่อ รวบรวมข้อมูลของงานที่ทำอยู่ จากนั้นจึงกำหนดค่า กลางของโครงการสำคัญๆเป็นรายจังหวัด ค่ากลางของโครงการจะใช้ร่วมกับแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ระหว่าง สสจ. สปสช. อปท. เพื่อปรับทิศทาง ของโครงการสุขภาพสำคัญๆ อันจะยังผลให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ ค่ากลางสามารถใช้จัดระดับแผนงาน / โครงการ ซึ่งจะ ช่วยให้หน่วยงานต่างๆทราบสถานะทางการพัฒนาและ กำหนดทิศทางการพัฒนาแผนงาน / โครงการได้ด้วย ตนเอง ค่ากลางมีประโยชน์ในการจัดระบบการเรียนการสอน ของโรงเรียนนวัตกรรมฯ ด้วย ค่ากลางใช้เป็น Benchmark ในระบบติดตาม ประเมินผล และการสร้างนวัตกรรม ทั้งยังเป็นเงื่อนไขใน การพิจารณาคำร้องขอการสนับสนุนโครงการ