การสำรวจหา ค่ากลาง
นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจาก โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่นโรคเบาหวาน โรคความดัน โลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และ โรคมะเร็ง อย่างมีบูรณาการและครบวงจร ตั้งแต่การ มีนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการลดปัจจัยเสี่ยงทาง สุขภาพ จัดให้มีการสื่อสารสาธารณะของรัฐเพื่อการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ป้องกันโรค เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพตนเองของประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน การให้บริการเชิงรุก ตลอดจนคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ
S L M
บทบาทของ 5 องค์กรระดับ ท้องถิ่น / ตำบลในการพัฒนา สุขภาพของ ประชาชน อปท รพ สต อสม ผู้นำ ชุมชน กองทุนฯ ตำบล
การพัฒนาสมรรถนะของแผนงาน สุขภาพด้วยค่ากลาง ทุก 3 เดือน ทุก ปี
ค่ากลางคือ อะไร ?
กระบวนการปรับทิศทางของ โครงการสุขภาพด้วยตนเอง
การยกระดับโครงการสุขภาพ ด้วยตนเอง
การกำหนดค่ากลางของ โครงการ ระดั บ 1. ค่ากลาง แสดงงานสำหรับโครงการ ( ก ) ที่พบปฏิบัติอยู่ทั่วไปใน จังหวัด 2. ค่ากลางไม่ใช่มาตรฐานที่ออกโดยกรมวิชาการ 3. หากโครงการ ( ก ) ที่กำลังประเมินมีงานเปรียบเทียบได้กับค่า กลาง ให้คะแนน = 3 4. หากมีงานมากหรือน้อยกว่าค่ากลาง คะแนนจะเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงตามเกณฑ์ที่จังหวัดกำหนด 5. จังหวัดสามารถกำหนดทิศทางการพัฒนาได้โดยการตั้งเกณฑ์ เพื่อผลักดันงานไปในทิศทางที่ต้องการ
การยกระดับโครงการอย่าง ต่อเนื่อง ระดั บ ต้อง ปรับปรุง พอใ ช้ ปาน กลาง ดี ดี มาก
พัฒนา โครงการที่ ต่ำกว่าค่า กลางขึ้น เท่ากับค่า กลาง ยกระดับ มาตรฐาน วิชาการและ สังคม สร้าง นวัตกรรม ต่อเนื่อง สร้าง รร. นวัตกรรม ฯ การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อ เทียบกับค่ากลาง การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแผนงาน / โครงการเมื่อใช้ค่ากลาง จำน วน ระดั บ รร. นวัตกรรม ฯทำงาน 3
สำรวจและยกระดับค่ากลางของแผนงาน พร้อมสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง มิติ กิจกร รม สร้าง นวัตกรรม
งาน %100% 65 การกำหนดค่ากลางของ แผนงาน / โครงการ กำหนดให้งานที่มีความถี่ไม่น้อยกว่า 65 % ของความถี่สูงสุดเป็นค่ากลางของ โครงการ ได้แก่งานที่ ความถี่สูงสุด ของงานที่พบ จากการสำรวจ (ก)การสำรวจใช้แบบสอบถาม แบบเปิด ( ข ) วิเคราะห์ แยกชนิดงานที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่สำรวจ ( ค ) เรียงลำดับความถี่ของงานที่มีการปฏิบัติจากน้อยไป หามาก
ข้อควรทราบในการ วิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง งานที่อยู่เหนือเส้น 65% ( เส้นค่ากลาง ) ต้องมี ไม่น้อยกว่า 3 งาน ( ประมาณ 3-5) งานเหล่านี้มี โอกาสถูกกำหนดให้เป็นค่ากลาง งานที่กำหนดให้เป็นค่ากลางต้องมีอย่างน้อย 1 งานที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) แต่ถ้ามีมากก็ ยิ่งดี งานที่ไม่ให้ KPI ที่มีอยู่แล้ว ควรละเว้นไม่ กำหนดให้เป็นค่ากลางในอนาคต พิจารณางานที่ต่ำกว่าเส้นค่ากลางเพื่อยกระดับ ให้อยู่เหนือเส้น โดยเฉพาะงานที่ให้ KPI และ งานที่สอดคล้องกับขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรม บันทึกข้อมูลการตัดสินใจไว้เพื่อตรวจสอบ ภายหลังเมื่อมีการประเมินผล
ขั้นตอนการเปลี่ยน พฤติกรรมของบุคคล บุคคล รับรู้ สนใจ ใคร่ ทดลอง ก้าวพ้น อุปสรรค เกิด ค่านิยม ใหม่ กิจกรรม 1. การสื่อสารทาง เดียว 2. การสื่อสารสองทาง 3. ให้โอกาสทดลอง 4. คาดล่วงหน้า เตรียมพร้อม 5. ให้โอกาสปฏิบัติ ซ้ำๆ
สรุป คำแนะนำ เนื่องจากกองทุนฯตำบลได้ผลิตโครงการต่างๆแล้วเป็น จำนวนมาก จึงควรจัดการประชุมกรรมการกองทุนฯเพื่อ รวบรวมข้อมูลของงานที่ทำอยู่ จากนั้นจึงกำหนดค่า กลางของโครงการสำคัญๆเป็นรายจังหวัด ค่ากลางของโครงการจะใช้ร่วมกับแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ระหว่าง สสจ. สปสช. อปท. เพื่อปรับทิศทาง ของโครงการสุขภาพสำคัญๆ อันจะยังผลให้เกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ ค่ากลางสามารถใช้จัดระดับแผนงาน / โครงการ ซึ่งจะ ช่วยให้หน่วยงานต่างๆทราบสถานะทางการพัฒนาและ กำหนดทิศทางการพัฒนาแผนงาน / โครงการได้ด้วย ตนเอง ค่ากลางมีประโยชน์ในการจัดระบบการเรียนการสอน ของโรงเรียนนวัตกรรมฯ ด้วย ค่ากลางใช้เป็น Benchmark ในระบบติดตาม ประเมินผล และการสร้างนวัตกรรม ทั้งยังเป็นเงื่อนไขใน การพิจารณาคำร้องขอการสนับสนุนโครงการ