การควบคุมวัณโรคเขตเมือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
Research Mapping.
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ไข้เลือดออก.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุมวัณโรคเขตเมือง สุพัตรา สิมมาทัน กลุ่มโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเรื้อน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น

ตัวชี้วัดที่ใช้ประเมินแผนงานการควบคุมวัณโรคแห่งชาติ  อัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ไม่น้อยกว่า 85%  ความครอบคลุมของการค้นหารายป่วยไม่น้อยกว่า 70 % ของจำนวนผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อ ที่คาดว่าจะมีในชุมชน

กิจกรรมหลักภายใต้แผนงานการควบคุมวัณโรคแห่งชาติ  มีระบบการขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค  มีระบบกำกับการกินยา(DOT)  มีการติดตาม /การเยี่ยมบ้าน  มีระบบการบันทึกรายงานและการประเมินผล

ความครอบคลุมของการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค ประเด็นปัญหา ความครอบคลุมของการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค ในโรงพยาบาลใหญ่  เชิงนโยบาย  งบประมาณ

ปัญหาการดำเนินงานวัณโรคในเมืองใหญ่ 1. ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยไม่ครบ ไม่ครอบคลุม 2. ระบบการส่งต่อไม่มีประสิทธิภาพ 3. ขาดการประสานงานของเครือข่าย 4. ไม่มีศูนย์กลางการเชื่อมต่อของข้อมูล 5. การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ

การประชุมครั้งที่ 1/2550 * กำหนดแนวทางการดำเนินงาน - การประสานงาน การประชุมครั้งที่ 1/2550 * กำหนดแนวทางการดำเนินงาน - การประสานงาน - การส่งต่อผู้ป่วย - ข้อมูล/รายงาน * บทบาท PCU CUP สสอ. สสจ. สคร. * หน่วยงานงานเข้าร่วมดำเนินการ * การศึกษาดูงาน * กำหนดการประชุมครั้งต่อไป

การประชุมครั้งที่ 2/2550 CUP PCU สสอ. สสจ. สคร. เทศบาล อื่นๆ การประชุมครั้งที่ 2/2550 กำหนดแนวทางการดำเนินงาน 1. บทบาทของหน่วยบริการสาธารณสุข CUP PCU สสอ. สสจ. สคร. เทศบาล อื่นๆ 2. ระบบการประสานงานของเครือข่าย 3. ระบบข้อมูล

แนวทางการดำเนินงาน 1. บทบาทของรพศ./สสจ./สคร./เทศบาล/สสอ./ศูนย์สุขภาพชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน  การรักษา  การส่งต่อ  การกำกับการกินยา 2. ประสานเครือข่าย  การรักษา  การส่งต่อ  การกำกับการกินยา

แนวทางการดำเนินงาน ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่

รูปแบบที่ 1 Central registration unit for TB ขึ้นทะเบียนรักษาที่ OPD โดยมี Central registration unit for TB มีผู้รับผิดชอบเป็น TB Coordinator ของ รพ. ข้อคิด การวางระบบกับห้องชันสูตร ห้องยา???

รูปแบบที่ 2 ขึ้นทะเบียนรักษาที่แผนกต่างๆ โดยมีผู้รับผิดชอบในการขึ้นทะเบียนเป็น TB Coordinator ของแผนก ข้อคิด ต้องการการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่จะมารับผิดชอบ

แนวทางการดำเนินงาน การประสานงานระหว่างหน่วยงาน

รูปแบบที่ 1 ผู้ป่วยในเขตพื้นที่ กรณีที่ 1 ขึ้นทะเบียนที่ CUP ดูแลรักษาที่ CUP กำกับการกินยา (DOT) ที่ PCU ระบบการประสานงานแบบไม่เป็นทางการ (โทรศัพท์)

รูปแบบที่ 1 ผู้ป่วยในเขตพื้นที่ กรณีที่ 2 ขึ้นทะเบียนที่ CUP ดูแลรักษาที่ CUP กำกับการกินยา (DOT) ที่ CUP PCU ติดตามเยี่ยมบ้าน ตรวจผู้สัมผัส ระบบการประสานงานแบบเป็นทางการ

รูปแบบที่ 1 ผู้ป่วยในเขตพื้นที่ กรณีที่ 3 PCU สร้างระบบกำกับการกินยา DOT (ญาติ/อสม.) ติดตามเยี่ยมบ้าน ตรวจผู้สัมผัส

รูปแบบที่ 2 ผู้ป่วยนอกเขตพื้นที่ บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า บัตรประกันสังคม ข้าราชการ สิทธิ อื่นๆ

รูปแบบที่ 2 ผู้ป่วยนอกเขตพื้นที่ กรณีที่ 1 ขึ้นทะเบียนที่ CUP รพศ. ขอนแก่น รพศ. ขอนแก่น ดูแลรักษา ระบบการประสานงานแบบเป็นทางการ

รูปแบบที่ 2 ผู้ป่วยนอกเขตพื้นที่ กรณีที่ 2 รพศ. ขอนแก่น ส่งต่อ CUP ระบบการประสานงานแบบเป็นไม่เป็นทางการ(โทรศัพท์)เพื่อความรวดเร็วพร้อมเป็นทางการ

แนวทางการดำเนินงาน 3. ระบบข้อมูล ขึ้นทะเบียนที่ CUP สคร. จัดการข้อมูล

Monitoring & Evaluation แนวทางการดำเนินงาน Monitoring & Evaluation 1. ประชุมทุก 1 เดือน 2. นิเทศ ติดตาม โดย สสจ./สคร.

We need all of you , to be partnership in fighting against Tuberculosis Thank you for attention