ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 9.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตามเป้าหมายผลผลิตของจังหวัด (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยวัด : ระดับ คำอธิบาย.
Advertisements

การติดตามและรายงานผลการ ปฏิบัติงาน ส่งเสริมการเกษตร ๒๕๕๔ ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
พันธกิจและแนวทางพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้รูปแบบกัลยาณมิตร
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
เตรียมความพร้อมการรายงานผลการปฏิบัติการประจำปี 2552 รอบ 12 เดือน.
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการตามแผนปฏิบัติงาน
โครงการตามนโยบายกรมส่งเสริมสหกรณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
การติดตามผลการปฏิบัติงาน การทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ การตรวจสอบและประเมินผล ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 20 มิถุนายน 2554.
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ.
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
นางณัฐชนัญ ศุภพิพัฒน์
27/ 02/ 49 DSD-Internal Performance Agreement (DSD-IPA) Create by s_promdum 20/12/48 Approved by DSD-CEO 27/12/48 DSD – IPA-2006’S Management Model ( ตัวชี้วัด.
กลุ่มที่ 2 รายชื่อ ผู้นำเสนอ 1. คุณพนิดาหาญกิจรุ่ง ( ตัวแทนฝ่ายลูกจ้าง ) 2. คุณเฉลิมพงษ์บุญรอด ( ตัวแทนฝ่ายรัฐ ) 3. คุณจิตรา โพธิ์แสง ( ตัวแทนฝ่ายนายจ้าง.
ไตรภาคีจะส่งเสริมการ เรียนรู้ใน สถานประกอบการได้ อย่างไร.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การวิเคราะห์ Competency
1 3.3 ร้อยละของผลการ ปฏิบัติงานตามแผน กลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาด ฯ ความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง 4.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการเสริมสร้าง คุณธรรมและ จริยธรรมแก่บุคลากร.
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง อัตราเงินสมทบ วิธีการเรียกเก็บเงินสมทบ ค่าจ้างขั้นต่ำและขั้นสูงที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย / บริหาร แผนแม่บท แผนชาติ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ เป้าหมาย PSA KPI
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
แผนที่กลยุทธ์ของสสค.ภาคกลาง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ตัวชี้วัดเกษตรจังหวัด : รอบที่ 1/2554 เกี่ยวกับ งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ตัวชี้วัดที่ 1 : ความสำเร็จในการบันทึกข้อมูลผลการจัดทำกระบวนการเรียนรู้ที่ได้รับการ.
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ - คิดค้น พัฒนาดัดแปลง และผลิตเครื่องจักรกล เครื่องมือ.
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
กลุ่มโรงงานเครื่องจักรกล มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 6. บูรณาการความร่วมมือด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี การส่งเสริมพัฒนากลุ่ม อาชีพ ( พื้นฐาน ) เจ้าภาพ กพส. ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต.
ที่ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อย ละ) หน่วย นับ เป้าหมาย ปี 2557 ข้อมูลพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. เกณฑ์การให้คะแนน ร้อยละของจำนวนครั้งที่รับผิดชอบในการ.
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
รายงานการประเมินตนเอง
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)

ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของแรงงานที่ได้รับการพัฒนาฝีมือในภาพรวมของภาค ซึ่งดำเนินการโดย สพภ.และศพจ. ที่อยู่ในเครือข่าย เทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับ ตามงบประมาณ พ.ศ. 2556

ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของแรงงานที่ได้รับการพัฒนาฝีมือในภาพรวมของภาค ซึ่งดำเนินการโดย สพภ. และศพจ.ที่อยู่ในเครือข่าย เทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ. 2556 น้ำหนัก สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ฯ ร้อยละ 2 วิธีการประเมินผล หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง(Self Assessment Report : SAR) เนื่องจากใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ (http://datacenter.dsd.go.th)

สูตรการคำนวณ จำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในผลผลิตที่ 1,2,3 และ โครงการในภาพรวมของภาคซึ่งดำเนินการโดย สพภ. และศพจ. X 100 เป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับในผลผลิตที่ 1,2,3 และโครงการ ในภาพรวมของภาคซึ่งดำเนินการโดย สพภ. และศพจ. เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน ร้อยละ 80 85 90 95 100

ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของผู้ผ่านการพัฒนาฝีมือในภาพรวมของภาค ซึ่งดำเนินการโดย สพภ. และศพจ. ที่อยู่ในเครือข่าย

ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของผู้ผ่านการพัฒนาฝีมือในภาพรวมของภาค ซึ่งดำเนินการโดย สพภ. และศพจ.ที่อยู่ในเครือข่าย น้ำหนัก สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ฯ ร้อยละ 5 วิธีการประเมินผล หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เนื่องจากใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ (http://datacenter.dsd.go.th)

สูตรการคำนวณ จำนวนแรงงานที่ผ่านการพัฒนาในผลผลิตที่ 1,2,3 และ โครงการในภาพรวมของภาคซึ่งดำเนินการโดย สพภ. และศพจ. X 100 จำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในผลผลิตที่ 1,2,3 และโครงการ ในภาพรวมของภาคซึ่งดำเนินการโดย สพภ. และศพจ. เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน ร้อยละ 64 67 70 73 76

ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละของแรงงานที่ได้รับการพัฒนาฝีมือในภาพรวมของภาค ซึ่งดำเนินการโดยสถานประกอบกิจการตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 เทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ.2556

ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละของแรงงานที่ได้รับการพัฒนาฝีมือในภาพรวมของภาค ซึ่งดำเนินการโดย สถานประกอบกิจการตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545 เทียบกับเป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับตามงบประมาณ พ.ศ.2556 น้ำหนัก สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค ฯ ร้อยละ 3 วิธีการประเมินผล หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เนื่องจากใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ (http://datacenter.dsd.go.th)

สูตรการคำนวณ จำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในผลผลิตที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมและ สนับสนุนให้สถานประกอบกิจการดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545 ในภาพรวมของภาค X 100 เป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับในผลผลิตที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน ให้สถานประกอบกิจการดำเนินการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545 ในภาพรวมของภาค เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน ร้อยละ 80 85 90 95 100