Medication reconciliation

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
แนวทางการดำเนินงานตู้ยาในครัวเรือน
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
การศึกษารายกรณี.
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
(Sensitivity Analysis)
รายงานการศึกษาความเป็นไปได้
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การพัฒนาแนวปฏิบัติเรื่อง การให้เลือดผิดกรุ๊ป และ identify ผู้ป่วยผิดคน
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
System Development Lift Cycle
กรณีตัวอย่าง.
ศูนย์แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ไข้เลือดออก.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วยนอก
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เมษายน 2557
เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการดูแลผู้ป่วย นิติจิตเวชในชุมชน
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Medication reconciliation กลุ่มงานเภสัชกรรมชุมชนและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลเวียงป่าเป้า

ความหมาย การเปรียบเทียบรายการของผู้ป่วยเมื่อแรก รับ เปรียบเทียบรายการยาที่แพทย์สั่งกับรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทานยาอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ก่อนมารับการรักษา จะดูว่ารายการยาที่แพทย์สั่งแรกรับนั้นครอบคลุมรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทาน ยาต่อเนื่องที่บ้านหรือไม่ และในทุกๆ รอยต่อของการ transfer ผู้ป่วย จนกระทั่งกลับบ้าน

ความหมาย ยาที่ทานประจำ VS ยาที่ได้จาก ร.พ. ADMIT HOSPITAL DISCHARGE

ขั้นตอน รวบรวมประวัติการใช้ยาที่ถูกต้องและสมบูรณ์ของผู้ป่วยเพื่อจัดทำรายการใช้ยา ตรวจสอบความถูกต้องของรายการยาและขนาดยาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย ตรวจสอบความแตกต่างของรายการยาโดยเปรียบเทียบรายการยาที่ผู้ป่วยเคยได้รับกับยาที่แพทย์สั่ง

ประโยชน์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง มีการหยุดยาบางตัวก่อนการเข้าทำหัตถการบางอย่าง ทำให้ได้รับยาที่ใช้อยู่ต่อหลังจากแพทย์สั่งหยุดชั่วคราว ลดการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องของผู้ป่วย เช่น มีการใช้ยาเดิมหลังจากแพทย์สั่งหยุดใช้ยาแล้ว, ได้ยาซ้ำซ้อนกับยาที่ผู้ป่วยมีอยู่เดิม หรือ ซื้อเอง เฝ้าระวัง Drug Interaction จากอาจเกิดจากยาเดิมและยาที่สั่งใช้เพิ่มเติม

แหล่งข้อมูล ยาผู้ป่วยที่นำมา ระบบคอมพิวเตอร์โรงพยาบาล สอบถามผู้ป่วย, ญาติ IPD OPD card โทรสอบถาม (รพ.อื่นที่ผู้ป่วยรักษา), ใบ Refer สมุดประจำตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

แหล่งข้อมูล ไม่ควรใช้ข้อมูลจากแหล่งเดียว เนื่องจากข้อมูลที่ได้อาจไม่ครบ ต้องใช้จากสองแหล่งขึ้นไปจึงจะได้ข้อมูลที่พอจะครบบ้าง และควรนำไปประกอบกับการสัมภาษณ์อีกครั้ง ต้องมีเทคนิคการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง

การบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน 2 1 3

การจ่ายยาผู้ป่วยในและ Med rec

แบบฟอร์ม

แบบฟอร์ม

แบบฟอร์ม

ตัวอย่างคำถาม

Medication reconciliation กับ น้องปอย

นาย A เมื่อ 05/11/53

นาย A เมื่อ 17/02/54

น้องปอยเห็นว่า….. ข้อมูล มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอดังนั้นให้สอบถามข้อมูลใหม่ทุกครั้งนะคะ ยาที่นำมาอาจมีซองยาหลายวันที่ ให้ดูวิธีการทานซองที่ได้รับล่าสุดนะคะ อย่าใช้ข้อมูลเดิมๆที่เก่าเก็บหล่ะ

น้องปอยเห็นว่า…..การควร Alert แบบนี้แหล่ะชัดดีผู้ป่วยที่ ใช้ยา warfarin หรือผู้ที่มีประวัติแพ้ยา เฮ้อ…..แพทย์ปรับขนาดยา lasix(40) เป็น1*1 แล้ว ยังทาน ½*1 อยู่ น้องปอยเลยแนะนำชุดใหญ่เลยค่ะ

รายการเยอะขนาดนี้ ยังไม่ครบนะคะ ปอยเช็คกับใบ Refer ไม่ได้นำมาด้วยอีก 3 รายการค่ะ ……ปอยขอตัวไปทวงยาที่ญาติก่อนนะคะ

อยากให้คุณหมอเห็นชัดๆว่าเหลือยาอะไรที่ยังไม่ได้สั่งทานต่อ น้องปอยเลย Highlight ให้ อิอิ สุดท้ายก็สั่งทานต่อ ให้น้องปอยแล้วค่ะ

ผลการดำเนินงาน

แบบบันทึก

ประเมินผลประจำเดือน

ผลการดำเนินงาน ข้อมูล/เดือน พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด    พ.ย. ธ.ค.  ม.ค.   ก.พ. จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด ราย 369 387 381 จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการติดตามการใช้ยาเดิม ราย(%) 118(32%) 159(41%) 257(69%) 293(76%) จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการแก้ไขปัญหาการใช้ยา 12(10%) 23(14%) 28(11%) 36(12%) ผู้ป่วยที่พบปัญหาไม่ได้รับยาต่อเนื่องขณะ Admit ร้อยละ 2

ผลการดำเนินงาน ทำให้ผู้ป่วยและญาติให้ความสนใจกับยาที่ใช้และข้อมูลเกี่ยวกับยามากขึ้น ผู้ป่วยและญาติเชื่อใจในเภสัชกรมากขึ้น โดยมักจะมีคำพูดว่า “เอายามาหื้อหมอเต๊อะกำเดียวเปิ้นตึงจัดหื้อ”

ปัญหา/แนวทางแก้ไข อุปสรรค แนวทางแก้ไข กรณีผู้ป่วย Admit อาจไม่มีญาติมาส่งหรือผู้ป่วยไม่สามารถให้ประวัติได้ ณ จุดแรกรับผู้ป่วย ไม่สามารถประวัติที่ชัดเจนจากผู้ป่วยได้ เนื่องจากการสื่อสารกับผู้ป่วย แนวทางแก้ไข กรณีมีข้อมูลเรื่องยาเพิ่มเติมให้ประสานหรือส่งยามามาให้ห้องยาทีหลัง หรือกรณีเร่งด่วนทางหอผู้ป่วยให้รายงานแพทย์เจ้าของไข้ก่อนนำส่งให้ห้องยาได้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นๆ เช่น ญาติ

น้องปอยเวียนหัวแล้ว ขอจบการนำเสนอเพียง เท่านี้ค่ะ THANK YOU