Medication reconciliation กลุ่มงานเภสัชกรรมชุมชนและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลเวียงป่าเป้า
ความหมาย การเปรียบเทียบรายการของผู้ป่วยเมื่อแรก รับ เปรียบเทียบรายการยาที่แพทย์สั่งกับรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทานยาอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ก่อนมารับการรักษา จะดูว่ารายการยาที่แพทย์สั่งแรกรับนั้นครอบคลุมรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทาน ยาต่อเนื่องที่บ้านหรือไม่ และในทุกๆ รอยต่อของการ transfer ผู้ป่วย จนกระทั่งกลับบ้าน
ความหมาย ยาที่ทานประจำ VS ยาที่ได้จาก ร.พ. ADMIT HOSPITAL DISCHARGE
ขั้นตอน รวบรวมประวัติการใช้ยาที่ถูกต้องและสมบูรณ์ของผู้ป่วยเพื่อจัดทำรายการใช้ยา ตรวจสอบความถูกต้องของรายการยาและขนาดยาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย ตรวจสอบความแตกต่างของรายการยาโดยเปรียบเทียบรายการยาที่ผู้ป่วยเคยได้รับกับยาที่แพทย์สั่ง
ประโยชน์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง มีการหยุดยาบางตัวก่อนการเข้าทำหัตถการบางอย่าง ทำให้ได้รับยาที่ใช้อยู่ต่อหลังจากแพทย์สั่งหยุดชั่วคราว ลดการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องของผู้ป่วย เช่น มีการใช้ยาเดิมหลังจากแพทย์สั่งหยุดใช้ยาแล้ว, ได้ยาซ้ำซ้อนกับยาที่ผู้ป่วยมีอยู่เดิม หรือ ซื้อเอง เฝ้าระวัง Drug Interaction จากอาจเกิดจากยาเดิมและยาที่สั่งใช้เพิ่มเติม
แหล่งข้อมูล ยาผู้ป่วยที่นำมา ระบบคอมพิวเตอร์โรงพยาบาล สอบถามผู้ป่วย, ญาติ IPD OPD card โทรสอบถาม (รพ.อื่นที่ผู้ป่วยรักษา), ใบ Refer สมุดประจำตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แหล่งข้อมูล ไม่ควรใช้ข้อมูลจากแหล่งเดียว เนื่องจากข้อมูลที่ได้อาจไม่ครบ ต้องใช้จากสองแหล่งขึ้นไปจึงจะได้ข้อมูลที่พอจะครบบ้าง และควรนำไปประกอบกับการสัมภาษณ์อีกครั้ง ต้องมีเทคนิคการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
การบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน 2 1 3
การจ่ายยาผู้ป่วยในและ Med rec
แบบฟอร์ม
แบบฟอร์ม
แบบฟอร์ม
ตัวอย่างคำถาม
Medication reconciliation กับ น้องปอย
นาย A เมื่อ 05/11/53
นาย A เมื่อ 17/02/54
น้องปอยเห็นว่า….. ข้อมูล มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอดังนั้นให้สอบถามข้อมูลใหม่ทุกครั้งนะคะ ยาที่นำมาอาจมีซองยาหลายวันที่ ให้ดูวิธีการทานซองที่ได้รับล่าสุดนะคะ อย่าใช้ข้อมูลเดิมๆที่เก่าเก็บหล่ะ
น้องปอยเห็นว่า…..การควร Alert แบบนี้แหล่ะชัดดีผู้ป่วยที่ ใช้ยา warfarin หรือผู้ที่มีประวัติแพ้ยา เฮ้อ…..แพทย์ปรับขนาดยา lasix(40) เป็น1*1 แล้ว ยังทาน ½*1 อยู่ น้องปอยเลยแนะนำชุดใหญ่เลยค่ะ
รายการเยอะขนาดนี้ ยังไม่ครบนะคะ ปอยเช็คกับใบ Refer ไม่ได้นำมาด้วยอีก 3 รายการค่ะ ……ปอยขอตัวไปทวงยาที่ญาติก่อนนะคะ
อยากให้คุณหมอเห็นชัดๆว่าเหลือยาอะไรที่ยังไม่ได้สั่งทานต่อ น้องปอยเลย Highlight ให้ อิอิ สุดท้ายก็สั่งทานต่อ ให้น้องปอยแล้วค่ะ
ผลการดำเนินงาน
แบบบันทึก
ประเมินผลประจำเดือน
ผลการดำเนินงาน ข้อมูล/เดือน พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด ราย 369 387 381 จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการติดตามการใช้ยาเดิม ราย(%) 118(32%) 159(41%) 257(69%) 293(76%) จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการแก้ไขปัญหาการใช้ยา 12(10%) 23(14%) 28(11%) 36(12%) ผู้ป่วยที่พบปัญหาไม่ได้รับยาต่อเนื่องขณะ Admit ร้อยละ 2
ผลการดำเนินงาน ทำให้ผู้ป่วยและญาติให้ความสนใจกับยาที่ใช้และข้อมูลเกี่ยวกับยามากขึ้น ผู้ป่วยและญาติเชื่อใจในเภสัชกรมากขึ้น โดยมักจะมีคำพูดว่า “เอายามาหื้อหมอเต๊อะกำเดียวเปิ้นตึงจัดหื้อ”
ปัญหา/แนวทางแก้ไข อุปสรรค แนวทางแก้ไข กรณีผู้ป่วย Admit อาจไม่มีญาติมาส่งหรือผู้ป่วยไม่สามารถให้ประวัติได้ ณ จุดแรกรับผู้ป่วย ไม่สามารถประวัติที่ชัดเจนจากผู้ป่วยได้ เนื่องจากการสื่อสารกับผู้ป่วย แนวทางแก้ไข กรณีมีข้อมูลเรื่องยาเพิ่มเติมให้ประสานหรือส่งยามามาให้ห้องยาทีหลัง หรือกรณีเร่งด่วนทางหอผู้ป่วยให้รายงานแพทย์เจ้าของไข้ก่อนนำส่งให้ห้องยาได้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นๆ เช่น ญาติ
น้องปอยเวียนหัวแล้ว ขอจบการนำเสนอเพียง เท่านี้ค่ะ THANK YOU