โมบายร้องเล่นเต้นเพลิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อมูลบุคลากร รวมทั้งสิ้น 54 คน ประเภท ชาย หญิง รวม
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การจำแนก ประเภทความพิการ.
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
นางธิโสภิญ ทองไทย และคณะ
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
สิ่งแวดล้อมที่ดี ทำให้ชีวีมีสุข
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เล่าเรื่องที่ประทับใจ
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดพลานามัย ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
รพศ. / รพท. ไม่มีแพทย์ดำเนินงาน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
จากปัญหา พาเรียนรู้ สู่นวตกรรม อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
ผลการดำเนินงานโครงการ
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
จำนวนห้องสมุดประชาชนมีการ พัฒนาการให้บริการด้วยระบบ ICT เสร็จตามแผนที่กำหนด และเป็นที่ พึงพอใจของผู้ใช้บริการ.
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
เป็นการสร้างช่องทางการ สื่อสารด้วยแผ่นภาพที่อาศัย รูปภาพใบหน้าในลักษณะ ต่างๆ พร้อมตัวหนังสือตัว โตๆที่มีสีสันสะดุดตา ทำให้ ผู้อ่านเข้าใจง่ายเมื่อพบเห็น.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

ผลการดำเนินงานตามแนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา จังหวัดปราจีนบุรี ตุลาคม 2556 – มิถุนายน 2557 พญ. นิภาภรณ์ มณีรัตน์
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
สกลนครโมเดล.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปการประเมินความคิดเห็นการจัดงาน มหกรรมคุณภาพ วันที่ มกราคม 2555
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
พฤติกรรม : กรณีห่างไกลสิ่งเสพติดของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นางพัษนีย์ อิมะนันทน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
โดย นางอุบลศรี อ่อนพลี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค)
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
คุณค่าของสื่อ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โมบายร้องเล่นเต้นเพลิน นางวารุณี อุดมพล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานส่งเสริมสุขภาพและบริการสุขภาพชุมชน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเชียงของ

ความเป็นมา ๐ จำนวนเด็กมารับบริการฉีดวัคซีน ๐ ขณะรอฉีดวัคซีนเด็กจะกลัวและร้องไห้

ความเป็นมา

เป้าหมาย ๐ เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจของเด็กขณะฉีดวัคซีน ๐ เพื่อส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ด้านการมองเห็น การได้ยิน และประสาทสัมผัส

วิธีการดำเนินงาน ๐ประชุมเจ้าหน้าที่ในทีม หาแนวทางใน การผ่อนคลายผู้ปกครอง และเบี่ยงเบนความสนใจ ของเด็กจากความเจ็บปวด ๐จัดหาโมบายที่สามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐ติดตั้งโมบายร้องเล่นเต้นเพลิน ๐นำมาใช้กับเด็กขณะรอฉีดวัคซีน

ผลลัพธ์การดำเนินงาน ๐ ความพึงพอใจภาพรวมของผู้ปกครองเด็กในคลินิก ต่อโมบายร้องเล่นเต้นเพลิน คิดเป็นร้อยละ 80

ผลลัพธ์การดำเนินงาน (ต่อ) หัวข้อ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด % เฉลี่ย 1. นวัตกรรม “โมบายร้องเล่น เต้นเพลิน “ สามารถส่งเสริม และกระตุ้นพัฒนาการเด็กได้ 53.84 21.53 9.23 1.53 86.15 2. กระตุ้นพัฒนาการเด็กได้ใช้ สายตามองดู ขณะของเล่น แกว่งไ ปมา 42.30 40 4.61 86.92 3. สามารถฝึกการฟังเสียงดนตรี ของเครื่องเล่น 36.92 6.92 4. ช่วยเบี่ยงเบนความสนใจของ เด็กในระหว่างฉีดวัคซีน 50 24.61 85.38 5. ทำให้เด็กร้องไห้น้อยลง 30.76 27.69 16.15 3.07 77.69 6. ลดความกลัวของเด็ก 26.92 6.15 13.84 7. ลดความกังวลของผู้ปกครอง ใน ระหว่างฉีดวัคซีน 33.84 8. ทำให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน 79.23 9.สามารถเข้าใจได้ว่าเจ้าหน้าที่มี ความห่วงใยในการฉีดวัคซีนของ บุตร 2.30 90

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ความภาคภูมิใจ o ผู้ปกครองเด็กมีความพึงพอใจต่อนวัตกรรม โมบายร้องเล่นเต้นเพลิน ๐ เป็นการส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก ๐ เน้นการดูแลด้านจิตใจของผู้รับบริการและญาติ

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ความภาคภูมิใจ (ต่อ) ๐ เป็นความร่วมมือร่วมใจในงานส่งเสริมสุขภาพ และบริการสุขภาพชุมชน เพื่อพัฒนาระบบบริการ ให้ดียิ่งขึ้น ๐ การประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงาน ( งานส่งเสริมสุขภาพและบริการสุขภาพชุมชนและ งานซ่อมบำรุง )

ข้อเสนอแนะ O นวัตกรรมโมบายร้องเล่นเต้นเพลิน ไม่เหมาะสมในการส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการ ในเด็กโต โดยอาจใช้นวัตกรรมอื่นๆในการกระตุ้น เด็กโตแทน