การติดตั้งและติดตาม การปฏิบัติงานปี 2555 การติดตั้งและติดตาม การปฏิบัติงานปี 2555
การติดตั้งและติดตาม การปฏิบัติงานปี 2555 เป็นการวางแปลงตัวอย่างแบบวงกลม ขนาด 0.1 เฮกตาร์ โดยเป็นแปลงแบบถาวร มีการวางหมุดกลางแปลง และติดเบอร์ ประจำต้นไม้ สามารถวัดการเปลี่ยนแปลงของการใช้ประโยชน์ที่ดิน และความเพิ่มพูนของต้นไม้ได้
ปัญหาจากการไปทำการ QA 1.จากการตกลงในการหาข้อมูลหมุดไม่ชัดเจน จึงทำให้มีการปัก หมุดที่ใหม่ที่ไม่ใช่ที่เดิม จึงทำให้เหมือนเป็นการติดตั้งแปลง ตัวอย่างใหม่ ไม่สอดคล้องกับการไปทำซ้ำแปลงตัวอย่างเดิม 2. การวางแปลงตัวอย่างไม่ถึงขนาด 0.1 เฮกตาร์ เนื่องจากมีพื้นที่ ลาดชัน จึงทำให้ขนาดแปลงตัวอย่างมีขนาดเล็กกว่าความเป็นจริง 3. การติด Tag (เบอร์) ที่ต้นไม้นั้น บางทีความสูงไม่ถึงหรือเกิน 1.30 เมตร ทำให้อาจจะได้ข้อมูลที่ผิดพลาด และ Tag ไม่เรียงตาม องศา องศา (วนขวา) นั้น ทำให้จะข้ามและหาเบอร์ที่ติด ต้นไม้ไม่ครบได้
ปัญหาจากการไปทำการ QA (ต่อ) 4. Tally sheet ใส่ข้อมูลไม่สมบูรณ์ เช่น รหัสพรรณไม้, track log, เติมคำช่องต่างๆ ไม่ครบถ้วน เติมคำช่องต่างๆ ไม่ครบถ้วน 5. ข้อผิดพลาดของเครื่องมือและการใช้เครื่องมือ
วิธีการหาค่าเฉลี่ยค่าพิกัด เพื่อ mark waypoint 1.วาง GPS ไว้ตรงหัวหมุดที่จะทำการจับพิกัด GPS กดปุ่ม mark บนเครื่อง GPS จากหน้าใดก็ได้ จากนั้นเครื่องจะอยู่ในหน้า mark waypoint page เลือก ปุ่ม กด Enter เข้าสู่หน้า Average Location 2.รอจนค่าในช่อง Measurement Count มีค่าประมาณ 200 จึงทำการกด Save 3.เมื่อกด save มันจะกลับมาหน้า Mark Waypoint เลือก ปุ่ม OK แล้วกด Enter ในตัวเครื่อง 4.นำค่าพิกัด X,Y ที่ได้จากการเฉลี่ยมาจดลงใน Tally Sheet ช่อง GPS Plot Centre(Site) 5.เมื่อได้ค่าเฉลี่ยจุดนั้นแล้วให้ดูว่า ค่า X, Y มีความถูกต้อง กับจุดกลางแปลงหรือเปล่า ถ้ามีความถูกต้องแล้วก็ทำการวางแปลง ตัวอย่าง แต่ถ้ายังก็ให้ดูว่าค่าพิกัด X,Y นั้นมีค่ามากหรือน้อยกว่าค่า จุดกลางแปลงที่กำหนดให้ ทำการเคลื่อนย้ายไปตามทิศที่ขาด หรือ เกิน แล้ว Avg ใหม่ได้ได้ค่าที่ถูกต้องที่สุด
วิธีการตั้งค่า Datum เครื่อง ให้เป็น wgs จากหน้าใดก็ได้ กดปุ่ม enter 2 ครั้ง เพื่อเข้าสู่ หน้า main menu 2.หน้า main menu เลือกตรงไอคอน Setup แล้ว กดปุ่ม enter บนเครื่อง เพื่อไปยังหน้า setup menu
3.หน้า setup menu เลือกตรงไอคอน Units แล้ว กดปุ่ม enter บนเครื่อง เพื่อไปยังหน้า Units Setup ตั้งค่า ต่างๆ ดังนี้ - ช่อง Position Format เลือก UTM UPS - ช่อง Map Datum เลือก WGS 84 -ช่อง Distance/speed เลือก Metric - ช่อง Elevation เลือก Meters (m/min) - ช่อง Depth เลือก Meters - ช่อง temperature เลือก Celsius - ช่อง Pressure เลือก Millibars 4.กดปุ่ม Quit เพื่อกลับสู่หน้าต่างปกติ
การบันทึก Track log เพื่อบันทึก เส้นทางเพื่อเข้าแปลงสำรวจ 1.จากหน้าใดก็ได้ กดปุ่ม enter 2 ครั้ง เพื่อเข้าสู่หน้า main menu 2.หน้า main menu เลือกตรงไอคอน Tracks แล้วกดปุ่ม enter บนเครื่อง เพื่อไปยังหน้า Tracks 3.หน้า Track เลือกตรงไอคอน On แล้วกดปุ่ม enter บนเครื่อง เพื่อให้เครื่องเริมบันทึก Track จาก camp เมื่อเดินทางมาถึง จุด STP ก็ ให้ทำการปิด Track โดย เลือกตรง ไอคอน Off แล้วกด Enter 4.เมื่อจะออกเดินทางจาก STP เข้าไปยังจุดสำรวจ ก็ให้ทำการ เปิด Track อีกครั้งนึง เมื่อเดินถึงจุดสำรวจก็ให้ทำการปิด Track 5.เมื่อทำการสำรวจเสร็จจะเดินทางกลับก็ให้ทำการเปิด Track และทำการปิด Track เมื่อกลับมาถึง Camp 6.ทำการ Save track และตั้งชื่อตามต้องการ ***ขณะที่ทำการเปิด Track สามารถออกไปใช้ GPS ทำงานในหน้าอื่นๆ ได้
การ Calibrating ค่าความสูงใหม่ 1.ในหน้า Altimeter กดปุ่ม Menu 1 ครั้ง เข้าหน้า Menu เลือก Calibrate Altimeter กด Enter เข้าไป 2.ใส่ค่าความสูงใหม่ที่เราทราบแน่นอนลงไปแล้วกด Enter เพื่อกลับไปหน้าความสูง
การ Calibrating เข็มทิศ 1.ในหน้า Compass กดปุ่ม Menu 1 ครั้ง เข้าหน้า Menu เลือก Calibrate Compass กด Enter เข้าไป 2.เมื่อกด เริ่มต้น ให้ทำตามที่ GPS คือ ให้ถือเครื่อง ให้ขนานกับพื้นแล้วหมุนไปทางขวา สองรอบ ช้าๆ ถ้ามี ข้อความขึ้นว่าช้าไป หรือ เร็ว ไป ก็ให้ปรับแก้ตาม 3.เมื่อทำเสร็จถ้าขึ้นข้อความ “ Calibration Successful” แสดงว่าทำสำเร็จแล้ว ถ้าขึ้นข้อความ “ Calibration Failed” แสดงว่าทำไม่สำเร็จ ให้ทำใหม่ ถ้าขึ้นข้อความ “ Calibration Failed” แสดงว่าทำไม่สำเร็จ ให้ทำใหม่
การใช้เครื่องวัดระยะด้วยแสง Leica Disto D3a หาระยะในแนวราบ ก่อนทำการยิงเพื่อวัดระยะให้ทำการกดปุ่ม ฟังชั่น ที่ ตัวเครื่องก่อนเพื่อที่จะให้เครื่องคำนวนระยะทางในแนวราบให้ เมื่อกด แล้วสังเกตที่มุมซ้ายบนของหน้าจอจะมีสัญลักษณ์ ปรากฏอยู่ เมื่อจะทำการวัดระยะให้กดปุ่ม 1 ครั้ง โดยที่มีข้อจำกัด อยู่ว่า มุมก้มและมุมเงยของเครื่องจะห้ามเกิน 50 องศา โดยจะมีตัวเลข ค่าของมุม ปรากฏบอกอยู่ และไม่ควรถือเครื่องเอียงซ้ายหรือขวา เพราะ เครื่องจะไม่สามารถวัดค่าได้ *** ก่อนวัดระยะควรสังเกตอยู่เสมอว่ายังมีสัญลักษณ์ ปรากฏอยู่ที่มุมซ้ายของหน้าจออยู่ เพราะหากเราไปกดปุ่ม CLEAR เครื่องก็จะทำการเอาฟังชั่นที่เราตั้งไว้ออก ทำให้ไม่ได้ค่าในแนวระนาบที่ แท้จริง
การตั้งค่าให้เครื่องวัดระยะจากท้าย เครื่องหรือหัวเครื่อง กดปุ่มฟังชั้น สลับกันไปมา โดย สังเกตรูปแบบการวัดได้ที่มุมซ้ายของเครื่องว่าเป็น แบบวัดจากท้ายเครื่องหรือหัวเครื่อง