การวิเคราะห์ต้นทุนรายอาชีพ นางสาวอัจฉรา เอื้ออนุกูลพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านวางระบบและพัฒนา นางพัชราภรณ์ เรืองสันติ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการ
ระดมสมอง? 1. ให้ที่ประชุมกลุ่มพิจารณาเลือกอาชีพในพื้นที่รับผิดชอบ 1 อาชีพ และร่วมกันวิเคราะห์ต้นทุนอาชีพที่กลุ่มต้องการนำเสนอ พร้อมสรุปความเห็นของกลุ่มที่ได้อ่านบทความของ ดร.ฤทัยชนก จริงจิตร 2. ให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอ ภายในเวลา 12 นาที ในประเด็น 2.1 วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนอาชีพ (ตามอาชีพที่ทางกลุ่มเลือก) 2.2 เทคนิคหรือวิธีการสอนแนะให้ Smart Farmer สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจ 2.3 ถอดบทเรียนจากบทความของ ดร.ฤทัยชนก จริงจิตร สรุปผลนำเสนอ
การถอดบทเรียน คือ อะไร Ͼ วิธีการจัดการความรู้รูปแบบหนึ่ง Ω เน้นเสริมสร้างการเรียนรู้ในกลุ่มที่เป็นระบบเพื่อสกัดความรู้ฝังลึก ในตัวคนและองค์ความรู้ของท้องถิ่นออกมาเป็นบทเรียน Ϙ สามารถนำไปสรุปและสังเคราะห์เป็นชุดความรู้ คู่มือ สื่อรูปแบบต่างๆ Ͽ ผลที่ได้จากการถอดบทเรียน ∞ สื่อชุดความรู้ ∞ ผู้ร่วมกระบวนการถอดบทเรียนต้องเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน และนำมาปรับวิธีคิด และวิธีการทำงานที่สร้างสรรค์ และมี คุณภาพยิ่งขึ้น
เพื่อการวางแผนการผลิต การวิเคราะห์ต้นทุนอาชีพ วัตถุประสงค์ ลดต้นทุน/ค่าใช้จ่ายในการผลิต เพื่อการวางแผนการผลิต ตามความต้องการของตลาดและได้มาตรฐาน ผลิตต่อหรือไม่ เพื่อการตัดสินใจ
ต้นทุนทางบัญชี และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Accounting cost ) ต้นทุนที่มีการใช้จ่ายจริง และมีการบันทึกทางบัญชี ต้นทุนที่มีการใช้จ่ายจริง และบางส่วนที่ไม่ได้ใช้จ่ายจริงและไม่ได้บันทึกทางบัญชี ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic cost)
โครงสร้างต้นทุนในระยะสั้น และระยะยาวที่สำคัญ 1.ต้นทุนรวม เป็นต้นทุนซึ่งไม่เปลี่ยนแปลงไปกับการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการผลิต เช่น ค่าเสื่อมราคา –ค่าเครื่องสูบน้ำ โรงเรือนเพาะพันธ์ และอุปกรณ์ เครื่องพ่นยา - ค่ารถแท็กเตอร์ เป็นต้น 1.1 ต้นทุนคงที่ เป็นต้นทุนซึ่งผันแปรไปตามสัดส่วนโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลง ของปริมาณการผลิต เช่น ค่าไถนา ค่าน้ำมัน ค่าพันธุ์พืช –สัตว์ ยาปราบศัตรูพืช ค่าปุ๋ย ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า ค่าอาหารสัตว์ ยา/ฮอร์โมน เป็นต้น 1.2 ต้นทุนผันแปร
หลังจากลงทุนไปแล้วเกินกว่า 1 ปี 2.ต้นทุนเฉลี่ย สำหรับอาชีพที่เกษตรกรได้ผลผลิต หลังจากลงทุนไปแล้วเกินกว่า 1 ปี 2.1 ต้นทุนรวมเฉลี่ย 2.2ต้นทุนคงที่เฉลี่ย 2.3ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย
ตัวอย่างการคิดต้นทุนเฉลี่ย
ความสัมพันธ์ระหว่าง Smart Officer กับ Smart Farmer สนับสนุน Smart Officer Smart Farmer รอบรู้ทางวิชาการ/ นโยบาย มีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเรื่องทำ ใช้เทคโนโลยีช่วยเหลือเกษตรกร มีข้อมูลที่ทันสมัยประกอบการตัดสินใจ ตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค สร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกรและองค์กรเกษตรกร พัฒนาสู่ Green Economy นำเกษตรกรสู่ Zero Waste Agricultuer รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม/สังคม วางแผนการผลิตตอบรับความต้องการ มีความรักเกษตรกรเหมือนญาติ ภูมิใจในองค์กรและความเป็นข้าราชการ ภูมิใจในความเป็นเกษตรกร
จบแล้วค่ะ