สู้เบาหวาน-ความดัน โครงการ ด้วยจราจรชีวิตกับ 3อ.2ส. พิชิตโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Service Plan สาขา NCD.
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ตัวชี้วัดที่ 7 สารพิษตกค้างในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข งานระบาดวิทยา 5 มิถุนายน 2557
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ระบาดวิทยาโรคปอดบวมของจังหวัดเพชรบุรี
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยองและคณะติดตามประเมินผล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
คปสอ.เมืองปาน.
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ เครือข่ายโรงพยาบาลสงขลา
สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยเขต 12
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
นายชำนาญ ไวแสน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สู้เบาหวาน-ความดัน โครงการ ด้วยจราจรชีวิตกับ 3อ.2ส. พิชิตโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์

ข้อมูลทั่วไป จำนวนประชากร อำเภอ 1,381,761 เมืองสุรินทร์ 258,806 ปราสาท 155,068 ศีขรภูมิ 135,708 สังขะ 127,539 ท่าตูม 96,667 รัตนบุรี 94,210 ชุมพลบุรี 71,293 กาบเชิง 60,528 จอมพระ 60,307 สำโรงทาบ 52,907 ศรีณรงค์ 45,806 สนม 44,994 บัวเชด 39,399 พนมดงรัก 37,111 เขวาสินรินทร์ 35,165 ลำดวน 30,911 รวม 1,381,761

เครือข่ายบริการทุติยภูมิ จำนวนสถานบริการ เครือข่ายปฐมภูมิ รพศ รพท. รพท.เล็ก รพช.ใหญ่ เครือข่ายบริการทุติยภูมิ A สุรินทร์ S - M1 ปราสาท M2 สังขะ,ศีขรภูมิ,รัตนบุรี+ท่าตูม F1 - F2 ชุมพลบุรี,สำโรงทาบ, สนม,จอมพระ,กาบเชิง,ลำดวน,บัวเชด,พนมดงรัก,บัวเชด F3 ศรีณรงค์ โนนฯ เขวาสินรินทร์ P1 รพ.สต.ขนาดใหญ่+ศสม.( 32+3 แห่ง) P2 รพ.สต.ขนาดกลาง (151 แห่ง) P3 รพ.สต.ขนาดเล็ก (26แห่ง+สสช.1 แห่ง)

ข้อมูลหน่วยปฐมภูมิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) แยกเป็น 209 แห่ง รพ.สต.ขนาดเล็ก 26 แห่ง รพ.สต.ขนาดกลาง 151 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 32 แห่ง

ข้อมูลหน่วยปฐมภูมิ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 3 แห่ง ศสม.สถานีรถไฟ 1 แยกเป็น 3 แห่ง ศสม.สถานีรถไฟ 1 ศสม.สุริยะกานต์ ศสม.กรุงศรีนอก ก่อสร้างใหม่ ปี 2556 จำนวน 1 แห่ง (ศสม.กังแอน อ.ปราสาท)

ข้อมูลสถานะสุขภาพ สาเหตุ การป่วยผู้ป่วยนอก 10 อันดับแรก ข้อมูลสถานะสุขภาพ สาเหตุ การป่วยผู้ป่วยนอก 10 อันดับแรก ลำดับ สาเหตุการป่วยตามกลุ่มสาเหตุ รวม อัตราต่อแสน 1 โรคระบบหายใจ 661,362 47,910.93 2 โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในช่องปาก 403,557 29,234.81 3 โรคระบบไหลเวียนโลหิต 372,949 27,017.48 4 โรคระบบกล้ามเนื้อ รวมโครงร่าง และเนื้อเยื่อยึดเสริม 345,198 25,007.12 5 สาเหตุจากภายนอกอื่น ๆ ที่ทำให้ป่วยหรือตาย 323,571 23,440.40 6 โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม 295,982 21,441.77 7 โรคติดเชื้อและปรสิต 155,268 11,248.05 8 โรคผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 142,102 10,294.27 9 โรคระบบสืบพันธุ์ร่วมปัสสาวะ 94,636 6,855.70 10 โรคตารวมส่วนประกอบของตา 88,043 6,378.08

ข้อมูลสถานะสุขภาพ สาเหตุ การป่วยผู้ป่วยใน 10 อันดับแรก ข้อมูลสถานะสุขภาพ สาเหตุ การป่วยผู้ป่วยใน 10 อันดับแรก ลำดับ สาเหตุการป่วย รวม อัตราต่อแสน 1 โรคของต่อมไร้ท่อ ภาวะโภชนาการและเมตะบอลิซึมอื่น ๆ 27,277 1,976.02 2 โรคเลือดและอวัยวะสร้างเลือด 18,204 1,318.75 3 โรคหัวใจและโรคไหลเวียนโลหิตอื่น ๆ 11,987 868.37 4 ภาวะแทรกในการตั้งครรภ์ คลอด และระยะหลังคลอด 11,853 858.66 5 อุบัติเหตุ 11,623 842.00 6 เบาหวาน 11,361 823.02 7 ความดันโลหิตสูง 11,072 802.09 8 โรคอื่น ๆของระบบย่อยอาหาร 9,998 724.28 9 โรคติดเชื้อและปรสิตอื่น ๆ 9,269 671.47 10 โรคติดเชื้อของลำไส้อื่น ๆ 8,731 632.50

ข้อมูลสถานะสุขภาพ สาเหตุการตาย ลำดับ สาเหตุการตาย จำนวน อัตราต่อแสน 1 มะเร็ง 684 49.55 2 โรคหัวใจและโรคไหลเวียนโลหิตอื่น ๆ 249 18.04 3 โรคหลอดเลือดสมอง 243 17.60 4 อุบัติเหตุทุกประเภท 229 16.59 5 โรคอื่น ๆของระบบย่อยอาหาร 221 16.01 6 ปอดอักเสบ 181 13.11 7 ไตวายเรื้อรัง 169 12.24 8 วัณโรค 147 10.65 9 โรคของระบบทางเดินหายใจอื่น ๆ 134 9.71 10 สาเหตุจากภายนอกอื่น ๆที่ทำให้ป่วยหรือตาย 105 7.61 11 เบาหวาน 89 6.45 12 ภูมิคุ้มกันบกพร่อง 55 3.98 13 ภาวะผิดปกติอื่น ๆ ในระยะก่อนคลอด หลังคลอด 37 2.68 14 ทำร้ายตัวเอง ยกเว้นจากสารพิษ สารเคมี 32 2.32 15 โรคระบบประสาทอื่น ๆ 31 2.25 16 โรคผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 30 2.17 17 โรคติดเชื้อของลำไส้อื่น ๆ 29 2.10 18 โรคติดเชื้อและปรสิตอื่น ๆ 24 1.74 19 ความดันโลหิตสูง 22 1.59 20 ไตวายเฉียบพลัน 1.38

ข้อมูลแพทย์อายุรศาสตร์ จังหวัดสุรินทร์ สถานบริการ/สาขา จำนวน รพ.สุรินทร์ - อายุรศาสตร์ - อายุรศาสตร์โรคไต - อายุรศาสตร์โรคเลือด - อายุรศาสตร์โรคหัวใจ - อายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติซั่ม 8 1 2 รพ.ปราสาท 3 รพ.สังขะ รพ.รัตนบุรี รพ.ศีขรภูมิ รวม 20

ข้อมูลพยาบาลใน รพ.สต. รพ.สต.ที่ไม่มีพยาบาลประจำ = 18 แห่ง รพ.สต.ที่ไม่มีพยาบาลประจำ = 18 แห่ง รพ.สต.ที่มีพยาบาลประจำ = 191 แห่ง รพ.สต. 209 แห่ง

ข้อมูลพยาบาล 230 คน (191 แห่ง) พยาบาลวิชาชีพ 28 คน พยาบาลเวชฯ 202 คน 230 คน (191 แห่ง) การอบรมพยาบาลเวชปฏิบัติ จำนวน 28 คน ที่ วพบ.สุรินทร์ ค่าลงทะเบียน 28,500 บาท (สปสช.9 นม. 10,000 บาท เงินบำรุง/CUP 18,500 บาท)

ข้อมูลพยาบาลเวชปฏิบัติ ใน รพ.สต. รพ.สต.ที่ไม่มีพยาบาลเวชปฏิบัติ = 34 แห่ง รพ.สต.ที่มี พยาบาลเวชปฏิบัติ = 175 แห่ง (202 คน) รพ.สต. 209 แห่ง

พัฒนาคุณภาพ HA ขั้น 2 ผ่าน 10 แห่ง (Re-Accredit) 4 แห่ง รพศ. 1 แห่ง รพช.13 แห่ง ขั้น 2 ผ่าน 10 แห่ง HA ขั้น 3 (Re-Accredit) 4 แห่ง

รอการประเมินจากกระทรวง พัฒนาคุณภาพ PCA ขั้นที่ 5 รอการประเมินจากกระทรวง ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 3 ผ่าน 209 แห่ง คกก.ระดับเขต

รพ.สต.เยี่ยมบ้านคุณภาพ การเยี่ยมบ้าน ROF relation on family tree รวมมี รพ.สต.เข้าร่วม 126 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 81.34 รพ.สต.เยี่ยมบ้านคุณภาพ ปี ปี 2556 (150 แห่ง) ปี 2555 (50 แห่ง) ปี 2554 (20 แห่ง) ROF งบ สปสช. 10,000 - 15,000 บาท/แห่ง อบรมเจ้าหน้าที่ และ อสม. แบบรายงาน case การเยี่ยมบ้าน ประเมินผล

สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดสุรินทร์

การคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2548-2555 ปี 2555 เป้าหมาย 536,054 ราย คัดกรอง DM/HT 509,425 ราย ร้อยละการคัดกรอง หมายเหตุ ปี 2555 ข้อมูล ณ 1 ต.ค. 54 – 30 ก.ย. 55

อัตราป่วยโรค DM/HT ต่อ ปชก.แสนคน ปี 2548-2555 ปี 2555 ผู้ป่วย DM 25,766 ราย ผู้ป่วย HT 39,581 ราย

อัตราผู้ป่วยในโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด อัตราผู้ป่วยในโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง ต่อประชากรแสนคน ปี 2548 - 2555

อัตราตายโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง ต่อประชากรแสนคน ปี 2548 - 2555

ผลการดำเนินงาน การคัดกรองเบาหวาน DM/HT ปี 2555 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์

ผลการคัดกรอง DM การคัดกรอง/ผลการคัดกรอง DM ( ปี 2555 ) การคัดกรอง/ผล ประชากร 35 ปีขึ้นไป มีจำนวน 536,054 คน การคัดกรอง/ผล คน ร้อยละ คัดกรอง DM ด้วยวาจา 509,425 95.03 เจาะเลือดด้วย DTX - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง DM 262,354 204,066 46,592 51.50 77.78 17.76

ผลการคัดกรอง HT การคัดกรอง/ผลการคัดกรอง HT ( ปี 2555 ) การคัดกรอง/ผล ประชากร 35 ปีขึ้นไป มีจำนวน 536,054 คน การคัดกรอง/ผล คน ร้อยละ คัดกรอง HT - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง HT 509,425 411,631 75,943 95.03 80.80 14.91

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยง(ราย) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ร้อยละ) สุขศึกษารายบุคคล ติดตาม 6 เดือน DM (46,592) 15.82 74.78 DTX<100 mg/dl 48.13 HT (75,943) 14.28 84.33 BP< 120/80mmhg 73.27

เฝ้าระวังด้วยปิงปองจราจร 7 สี จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน 25,766 ราย กลุ่มป่วย ระดับ โรคแทรกซ้อน กินยาคุมอาการ กลุ่มเสี่ยง 6,773 (ราย) 940 (ราย) 8,004 (ราย) 7,603(ราย) 2,618 (ราย) 1,835 (ราย) 991 (ราย) ปกติ

เฝ้าระวังด้วยปิงปองจราจร 7 สี จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 39,581ราย กลุ่มป่วย ระดับ กลุ่มเสี่ยง กินยาคุมอาการ โรคแทรกซ้อน 6,013 (ราย) 9,470 (ราย) 18,684 (ราย) 760 (ราย) 503 (ราย) 251 (ราย) 3,897 (ราย)

การตรวจภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วย เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2555

ระบบบริการที่มีคุณภาพ ผลงานปี 2555 KPI เกณฑ์ (ร้อยละ) ผลงาน ระดับ FBS อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ 45 56.19 ตรวจ HbA1c ประจำปี 65 64.75 ตรวจ HbA1c<7 40 46.66 ตรวจ Lipid Profile ประจำปี 80 78.21 LDL<100mg/dl 39.41 BP< 130/80 mmHg 60 64.11 เท้ามีแผล 1.09 ผล Urine ผิดปกติ 12.74

ระบบบริการที่มีคุณภาพ ผลงานปี 2555 KPI เกณฑ์ ผลงาน ร้อยละ ผู้ป่วย HT ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ร้อยละ 67.68 ร้อยละ DM/HT มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อ ร้อยละ 100 ผู้ป่วย DM/HT ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อ IHD/Stroke ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 DM ร้อยละ 65.65 HT ร้อยละ 63 ผู้ป่วย DM/HT ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงเรื่องยาสูบ/บุหรี่ > ร้อยละ 60 DM ร้อยละ 70.23 HT ร้อยละ 78.50 ร้อยละ ผู้ป่วย DM/HT ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า/ประเมินภาวะเครียด และการติดสุรา ร้อยละ 100 ร้อยละ 87.61 ร้อยละ ผู้ป่วย DM/HT ที่สูบบุหรี่ได้รับคำแนะนำตามแนวทาง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วย DM (ตา ไต เท้า) ผู้ป่วย HT (ไต) DM ตา ร้อยละ 55.15 ไต ร้อยละ 76.02 เท้า ร้อยละ 62.43 HT ไต ร้อยละ 62

จำนวนผู้ป่วยนอก DM/HT ไปรับบริการ ที่ ศสม./รพ.สต. เกณฑ์ มากกว่า ร้อยละ 50 ผู้ป่วย จำนวน (ราย) ส่งผู้ป่วยกลับ รพ.สต. ร้อยละ DM 25,766 14,189 55.07 HT 39,581 23,790 60.10

การดำเนินงานคลินิกไร้พุง งานส่งเสริมสุขภาพ คลินิกไร้พุง (DPAC) ใน รพ.สุรินทร์ 1 แห่ง รพช.ทุกแห่ง 13 แห่ง รพ.สต.นำร่อง อำเภอละ 1 แห่ง (17 แห่ง) การดำเนินงาน DPAC การดำเนินงานคลินิกไร้พุง คลินิก DPAC อยู่ที่ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ เปิดบริการวันศุกร์สัปดาห์ที่ 2 และ 3 ของเดือน

กลุ่มปกติ : สร้างเสริมสุขภาพ วิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แผนงาน กิจกรรม DPAC ในชุมชน จัดตั้งคลินิกให้คำปรึกษาเรื่องอาหาร ออกกำลังกาย (DPAC) ดำเนินการองค์กรไร้พุง ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค ดำเนินการหมู่บ้าน/ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค ตามเส้นทางบันได 5 ขั้น สู่การเป็น หมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบ พัฒนาตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีไทย ตามมาตรฐานที่กำหนด

กลุ่มปกติ : สร้างเสริมสุขภาพ วิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แผนงาน กิจกรรม กิจกรรม 3 อ. 2 ส. โครงการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพเพื่อการ เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ปี 2555 (อาหาร/ออกกำลังกาย/อารมณ์) รณรงค์สถานที่สาธารณะที่ต้องเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย ปี 2555 เสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ภาคีเครือข่ายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ขยายหน่วยบริการบำบัดการติดบุหรี่ให้ครอบคลุมพื้นที่ โครงการบุญประเพณีปลอดเหล้า

กลุ่มเสี่ยงสูง : ป้องกันการเพิ่มขึ้น ของกลุ่มป่วย แผนงาน กิจกรรม DPAC ในโรงพยาบาล คลินิกให้คำปรึกษาเรื่องอาหาร ออกกำลังกาย/อารมณ์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูง พัฒนาศักยภาพทีมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ป้องกัน/ชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน แผนงาน การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน พัฒนารูปแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มผู้ป่วย พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วย การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายภายในอำเภอ พัฒนาระบบข้อมูลผู้ป่วย พัฒนาศักยภาพบุคลากร

อุปสรรคในการทำ DPAC บริบทประชาชนทำเกษตรกรรม ไม่มีเวลาและแรงจูงใจ คลินิกDPAC มีการบูรณาการกับคลิกนิก DM/HT ยังขาดสถานที่ในการทำงาน บุคลากรไม่เพียงพอ เปลี่ยนผู้รับผิดชอบ ทำให้การทำงานไม่ต่อเนื่อง

การพัฒนาภาคีเครือข่าย วัดส่งเสริมสุขภาพ - ระดับอำเภอๆ ละ 1 แห่ง (17 อำเภอ) - ตรวจคัดกรองสุขภาพพระภิกษุ สามเณร และผู้นำศาสนา จำนวน 5,859 รูป คิดเป็นร้อยละ 73.24

การแข่งขันฮูล่าฮูบ รางวัลชนะเลิศระดับภาค ประเภทมาราธอน สถิติ 10 ชม. รางวัลชนะเลิศระดับภาค ประเภทมาราธอน สถิติ 10 ชม. (รพ.ลำดวน :นางธีรนุช จิตรศิลป์) รางวัลชนะเลิศระดับภาคและระดับประเทศ ประเภททีมลีลา (รพ.สต.สาโรจน์ /รพสต.พรมเทพ อ.ท่าตูม)

งานอาหารปลอดภัย  รณรงค์ “กินรสจืด ยืดชีวิต” ร่วมกับชมรมผู้ประกอบ  รณรงค์ “กินรสจืด ยืดชีวิต” ร่วมกับชมรมผู้ประกอบ การค้าอาหารจังหวัด อำเภอ (จังหวัดสนับสนุนสติ๊กเกอร์)  ร้านอาหาร CFGT มีเมนูชูสุขภาพร้อยละ 40.75 (เป้าหมายร้อยละ 25)  จัด Healthy break ใน รพ.ทุกแห่ง ร้อยละ 100

งานเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง - อบรมพัฒนาระบบข้อมูลการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง - การอบรมวิชาการรู้ทันโรค เบาหวาน - อบรมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นำเสนอ ผลงานเด่นระดับเขต/ระดับภาค

งานสุขภาพภาคประชาชน การดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป้าหมาย รพ.สต.ละ 2 ชุมชน ผลงาน 418 ชุมชน (209 รพ.สต.)

การดำเนินงาน ปี 55 พัฒนาบุคลากร พัฒนาภาคีเครือข่าย พัฒนาระบบบริการ - วัดส่งเสริมฯ 1 แห่ง/อำเภอ - หมู่บ้านลด หวาน มัน เค็ม - หมู่บ้านปรับเปลี่ยนฯ พัฒนาบุคลากร NCD Board ระดับอำเภอ/จังหวัด พัฒนาระบบบริการ - คลินิกDPAC / NCD - ตรวจคัดกรองสุขภาพ ประจำปี - พัฒนาระบบส่งต่อ พัฒนาระบบฐานข้อมูล -โปรแกรมเฉพาะกิจโรคเรื้อรัง - 43 แฟ้ม การดำเนินงาน ปี 55

ระบบการประมวลผล/รายงานข้อมูล Data Center การเชื่อมโยงระบบข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ระบบการประมวลผล/รายงานข้อมูล Data Center

ข้อมูลพิกัดหลังคาเรือน การเชื่อมโยงระบบข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ข้อมูลพิกัดหลังคาเรือน

ข้อมูลพิกัดหลังคาเรือนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การเชื่อมโยงระบบข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ข้อมูลพิกัดหลังคาเรือนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

การคัดกรองผู้ป่วยเรื้อรังตามกลุ่มเป้าหมาย

ข้อมูลผู้พิการ

แผนการดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์

แผนการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2556 ระดับจังหวัด คกก.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาควบคุมโรคไม่ติดต่อ(DM/HT) โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพดี วิถีไทย ลดภัย โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(DM/HT) ปี 2556 1,096,948 ราย โครงการ DM / HT ด้วยจราจรชีวิตกับ 3 อ 2 ส. พิชิตโรค อบรมพัฒนาระบบข้อมูล โรคเรื้องรัง โครงการป้องกันความพิการ DM เข้าจอประสาทตา ประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการโรค DM/HT ประชุมเครือข่ายผู้รับผิดชอบงาน - การคัดกรอง ปชก.อายุ 15 ปี ขึ้นไป การดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ อาหาร/โภชนาการ - ส่งเสริมร้านอาหารมีเมนูชูสุขภาพ/ ติดสติกเกอร์ กินรสจืดยืดชีวิต - จัดรณรงค์ลด นน.

ระดับอำเภอ มีระบบคัดกรอง DM/HT แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง คณะกรรมการสาขาควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับอำเภอ จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพระบบบริการตามสภาพปัญหา จัดทำแนวทางการให้ยา DM/HT พัฒนามาตรฐาน ราย CUP มีระบบคัดกรอง DM/HT แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง รพ.สต.มีแนวทาง เวชปฏิบัติสำหรับโรค DM/HT

คลินิก NCD คุณภาพ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ระดับจังหวัด สาขาควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCD) สาขาโรคหัวใจ สาขาโรคหลอดเลือดสมอง สาขาตาและไต คลินิก NCD คุณภาพ มีทิศทางและนโยบาย ปรับระบบและกระบวนการบริการ จัดบริการเชื่อมโยง ชุมชน มีระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง มีระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีระบบสารสนเทศ Planning Monitoring Evaluation

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์ สวัสดี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์