บัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และต้นทุนประกอบอาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสมัครใช้บริการ SCB Easy Net
Advertisements

หน้าจอตู้ ATM ธนาคารกรุงไทย
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
เศรษฐกิจ พอเพียง.
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
กลุ่มที่ 7 ประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม นางสาว วไลพร เตสยานนท์
กลุ่มที่ 5 สมาชิก 30 คน ภาคกลาง เหนือ อีสาน และ ใต้ รวม 14 จังหวัด ประธานกลุ่มฯนางสาวสุ พรรณี บงแก้ว เลขานุการกลุ่มนางสาวสม พร อิ่มบุญสุ
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
Statement of Cash Flows
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
ธนาคารที่เปิดให้บริการรับชำระเงินค่าลงทะเบียนและค่าธรรมเนียมการศึกษา
งานที่เกี่ยวข้องกับระบบ GFMIS
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
ระบบบัญชี.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
โครงการ “เหรียญห้า เหรียญสิบ รอมริบเอาไว้”
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
อาจารย์อ้อ สุธาสินี( ชุดที่ 19)
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
เกษตรทฤษฎีใหม่.
25 หนทางแห่งความพอเพียง ในภาวะเศรษฐกิจที่ไม่เพียงพอ
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
 2003 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand.
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
SMARTPAYMENT REQUIREMENT Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Tecnology, university of phayao.
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ใช้จ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างพอเพียง
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
การเงินส่วนบุคคลตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
1.
Payroll.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
Program บันทึก บัญชีรายรับ-รายจ่ายครัวเรือน Version 3.0.
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
“ ถ้าใช้เงินเป็น ต้องเห็นเงินออม ”
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และต้นทุนประกอบอาชีพ บัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และต้นทุนประกอบอาชีพ เสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีแก่เกษตรกรไทย

ภูมิปัญญาทางบัญชีสร้างวิถีสู่อนาคต รู้จักออม : รู้จักประหยัด ทำให้เกิดการออมเงิน 8 รู้หนี้สิน : วางแผนชำระหนี้ให้ทันตามกำหนด 7 รู้ต้นทุน กำไร (ขาดทุน) : ลงทุนเท่าไร ขายได้เท่าไร มีกำไรหรือไม่ 6 รู้รายจ่าย : ใช้จ่ายเป็นค่าอะไรบ้าง เท่าไร ลดร่ายจ่ายฟุ่มเฟือย 5 รู้รายรับ : ได้เงินมาจากไหน เท่าไร 4 ต้องลงมือทำบัญชี : ทำบัญชีทุกวันที่การรับ - จ่าย 3 ต้องเข้าอบรมและตั้งใจเรียนรู้การทำบัญชี 2 สมัครใจเข้าร่วมโครงการ : ลงทะเบียนเพื่อขอรับการฝึกอบรม 1

บัญชี กับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บัญชี กับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทำบัญชี ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีพอใช้ ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม มีเงินออม สมดุล มั่นคง ยั่งยืน

3 คิด 4 รู้ ด้วยการทำบัญชี 3 คิด 4 รู้ ด้วยการทำบัญชี มีเงินออม มีพอใช้ ได้ปลดหนี้ ทำบัญชี คิดหลักบัญชี รู้ทิศทาง อนาคตของตนเอง สร้างนิสัยการออม คิดปะติดปะต่อ รู้หนี้สิน ได้ปลดหนี้ เปรียบเทียบรายได้ รายจ่าย ฝึกนิสัยการใช้จ่ายเงิน คิดจำแนก รู้รายได้ รู้รายจ่าย ลงมือทำบัญชีประจำวัน

วิธีการลงบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน : ด้านรับเงิน 1. เขียนวันที่ เดือน ปี พ.ศ. ที่มีรายการรับ - จ่ายเงิน 2. เขียนรายละเอียดของการรับเงิน หรือการจ่ายเงินที่ต้องการระบุรายละเอียดเพิ่มเติม 3. เขียนจำนวนเงินที่ได้รับ โดยแยกเป็น (1) รายรับประกอบอาชีพ หรือ (2) รายรับอื่นๆ (3) เขียนจำนวนเงินที่ได้รับทั้งสิ้น โดยรวมยอดเงินจากช่องที่ (1) และ (2) วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รวมรายรับ ประกอบอาชีพ รายรับอื่น (รวม 1 ถึง 2) (1) (2) (3)   รวมเดือน...................... 1 2 3

วิธีการลงบัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน : ด้านจ่ายเงิน 4. เขียนจำนวนเงินที่จ่าย แยกเป็น ค่าใช้จ่ายประกอบอาชีพ และรายจ่ายในครัวเรือน - ค่าใช้จ่ายประกอบอาชีพ เป็นค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น ค่าปุ๋ย ค่าพันธุ์ข้าว ค่าพันธุ์ปลา ค่าอาหารปลา เป็นต้น - รายจ่ายในครัวเรือน เขียนจำนวนเงินที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ตามประเภทที่แยกไว้ รายจ่าย รวมรายจ่าย ประกอบอาชีพ ในครัวเรือน ค่าใช้จ่ายประกอบอาชีพ ซื้อทรัพย์สินถาวร ค่าอาหาร ค่าของใช้ ค่าน้ำ/ค่าไฟ/ค่าโทรศัพท์ ค่าน้ำมันรถ ให้เงินลูก ฝากเงิน ชำระคืนเงินกู้ ......... อื่นๆ (รวม 4 ถึง 14) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14) (15)   (เพื่อซื้อหรือสร้างเครื่องใช้งานได้หลายปี จำนวนเงินสูง หรือลงทุน ) (เป็นต้นทุนในการประกอบอาชีพ ) 4

สรุปรายการรับเงิน จ่ายเงิน ทุกสิ้นเดือน วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รวมรายรับ ประกอบอาชีพ รายรับอื่น (รวม 1 ถึง 2) (1) (2) (3)   รวมเดือน...................... ระบุเดือนด้วย 5 5.1 เขียนยอดรวมจำนวนเงินแต่ละช่อง ไว้ในบรรทัด “รวมเดือน...............” และเขียนระบุเดือนไว้ด้วย

สรุปรายการรับเงิน จ่ายเงิน ทุกสิ้นเดือน (ต่อ) รายจ่าย รวมรายจ่าย ประกอบอาชีพ ในครัวเรือน ค่าใช้จ่ายประกอบอาชีพ ซื้อทรัพย์สินถาวร ค่าอาหาร ค่าของใช้ ค่าน้ำ/ค่าไฟ/ค่าโทรศัพท์ ค่าน้ำมันรถ ให้เงินลูก ฝากเงิน ชำระคืนเงินกู้ ......... อื่นๆ (รวม 4 ถึง 14) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14) (15)   5 ลงยอดรวมแต่ละช่อง

สรุปรายการรับเงิน จ่ายเงิน ทุกสิ้นเดือน (ต่อ) 5.2 เขียนจำนวนเงินคงเหลือยกมาจากเดือนก่อน เงินคงเหลือยกมาจากเดือนก่อน............ 5.3 นำจำนวนเงินที่รวมได้ในช่องรวมรายรับ (3) มาเขียนไว้ บวก รวมรายรับ (3) ............................ หัก รวมรายจ่าย (15)........................... 5.4 นำจำนวนเงินที่รวมได้ในช่องรวมรายจ่าย (15) มาเขียนไว้ เงินสดคงเหลือยกไปเดือนหน้า............. 5.5 นำจำนวนเงินคงเหลือยกมาจากเดือนก่อน บวกรวมรายรับ และหักด้วยรวมรายจ่าย จะเป็นเงินสดคงเหลือยกไปเดือนหน้า (เงินสดคงเหลือในเดือนนี้)