กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
Advertisements

สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
อธิบดีกรมควบคุม โรค นพ. พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์. สถานการณ์โรคที่ ต้องเฝ้าระวัง.
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
วลีรัตน์ พูลผล (วทม.ปรสิตวิทยา) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร. 7 อบ.
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
สำนักวิชาการและแผนงาน
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ไข้เลือดออก.
โรคที่ต้องควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ประจำเดือนตุลาคม 2549 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2555 วลีรัตน์ พูลผล กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง 1

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2555 ณ วันที่ 4 พย 55 (สัปดาห์ที่ 45) Pt สะสม DHF+DF+DSS รวม 59,012 ราย อัตราป่วย 92.90 /แสน Pt ตาย 58 ราย อัตราตาย0.09 /แสน อัตราป่วยตาย 0.1% ที่มา: สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ต่อแสน อัตราป่วย 85.64 112.33 74.13 101.07 พบมากกลุ่ม 15–24 15–24 10–14 15–24 ปี ที่มา : รง. 506 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 4 พย 55 wks 45

สถานการณ์ไข้เลือดออกประเทศไทยปี 2555 (ข้อมูล 1 มค - 4 พย 55) PT 59,012 ราย อัตราป่วย 92.90/แสน ปชก. Pt เสียชีวิต 58 ราย อัตราป่วยตายเท่ากับ 0.1% สัดส่วน (ชาย:หญิง) 1: 0.95 จังหวัดที่มีอัตราป่วย /แสน ปชก สูงสุด 5 อันดับแรก ระยอง 366.45 /แสนปชก กระบี่ 365.72 /แสนปชก จันทบุรี 211.25 /แสนปชก ลพบุรี 192.33 /แสนปชก ฉะเชิงเทรา 185.36 /แสนปชก อัตราป่วยต่อแสน 0.01-10 >10-50 >50-100 >100-200 >200-300

อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรคไข้เลือดออก ภาพรวม สคร.7 อบ. รายเดือน ปี 2555 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (50-54) ภาพรวมพื้นที่ สคร 7อัตราป่วยลดลงเมื่อเทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี >20%= 23.63%

อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก จำแนกเป็นรายจังหวัดพื้นทีรับผิดชอบของ สคร อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก จำแนกเป็นรายจังหวัดพื้นทีรับผิดชอบของ สคร.7 ปี 2555 (ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม - 9 พ.ย. 2555) ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดในพื้นที่สคร 7 อบ จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550 – 2554) ค่าเป้าหมาย และ ปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดอุบลราชธานี จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดศรีสะเกษ จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดยโสธร จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดอำนาจเจริญ จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดสกลนคร จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดมุกดาหาร จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550–54) ค่าเป้าหมาย และปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดนครพนม จำแนกรายสัปดาห์ ปี2555 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2550 – 2554) ค่าเป้าหมาย และ ปี 2554 ที่มา: กลุ่มระบาดวิทยา สคร.7 อุบลราชธานี ข้อมูล ณ วันที่ 9 พ.ย. 55

คาดการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออก 1. เกณฑ์ประเมินพื้นที่เสี่ยง 1.1 การเกิดโรคซ้ำซาก อัตราป่วยในรอบ 5 ปี (2550-54) สูงกว่าค่า MEDIAN ของประเทศอย่างน้อย 2 ปี 1.2. อัตราป่วยปีปัจจุบัน (ปี 2555) ลดลงต่ำกว่าอัตราป่วยต่ำสุดในรอบ 5 ปี (2550-54) 1.3 อัตราป่วยปีปัจจุบัน (ปี 2555) สูงกว่า MEDIAN (2550-54) ของจังหวัด 1.4 มีการแพร่ไปยังพื้นทีอำเภอต่าง ๆ มาก 1.5. เป็นพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว/เขตอุตสาหกรรม 2. การพยากรณ์โรคอย่างง่าย พยากรณ์การระบาดในระยะไกล พยากรณ์การระบาดในระยะใกล้

1. เกณฑ์ประเมินพื้นที่เสี่ยง 2.1 การเกิดโรคซ้ำซาก หมายถึง อัตราป่วยในรอบ 5 ปี (2550-54) จำนวนปีที่มีอัตราป่วยสูงกว่าค่า MEDIAN ของประเทศอย่างน้อย 2 ปี โดยค่า MEDIAN ของประเทศในแต่ละปี = MEDIAN ของอัตราป่วยของ 76 จังหวัดรายปี (2550-2554) คะแนน ตามความถี่ของการระบาด 1 - 5 คะแนน แนวคิด : การระบาดเกิดทุกปี แสดงให้เห็นว่ามีปัจจัยแวดล้อมเอื้อ ต่อการระบาด 2.2 อัตราป่วยปี 2555 (ม.ค.-ต.ค.55) ลดลงต่ำกว่าอัตราป่วย ต่ำสุดในรอบ 5 ปี (2550-54) คะแนน ต่ำกว่า = 1, สูงกว่า = 0 ถ้าต่ำมากมีโอกาสระบาดมาก แนวคิด : การที่อัตราป่วยลดลงต่ำสุดในรอบ 5 ปี แสดงให้เห็นว่า รูปแบบการระบาดจะมีโอกาสสูงในปีถัดไป

1. เกณฑ์ประเมินพื้นที่เสี่ยง (ต่อ) 2.3 อัตราป่วยปี 2555 สูงกว่า MEDIAN (2550-54) ของจังหวัด แสดงว่า ยังมีการระบาดอยู่ ปีถัดไปจะมีโอกาสน้อยกว่า คะแนน สูงกว่า = 0, ต่ำกว่า = 1 แนวคิด : อัตราป่วยที่ลดลงอย่างรวดเร็ว แสดงให้เห็นว่าจะยังมีโอกาสการระบาดอย่างรวดเร็วในปีถัดไป 2.4 ปี 2555 มีแพร่ไปยังพื้นทีอำเภอต่าง ๆ มาก (มีจำนวนอำเภอที่มีการระบาดมาก) คะแนน ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด < 26.79% = 3 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด >26.79%-52.01% = 2 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด >52.01% - 64.62% = 1 ร้อยละของอำเภอที่มีการระบาด >64.62% = 0 แนวคิด : การระบาดสูงในหลายพื้นที่ สะท้อนการเกิดภูมิคุ้มกันในพื้นที่ ถ้ามีจำนวนอำเภอที่ระบาดน้อย จะมีโอกาสระบาดในปีถัดไปมากกว่า ถ้ามีจำนวนอำเภอที่มีการระบาดมาก จะมีโอกาสระบาดในปีถัดไปน้อยกว่า

1. เกณฑ์ประเมินพื้นที่เสี่ยง (ต่อ) 2.5 เป็นพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว/เขตอุตสาหกรรม คะแนน 1, 0 แนวคิด จังหวัดที่มีการเคลื่อนย้ายประชากรสูง (พื้นที่อุตสาหกรรม-สังคม-เศรษฐกิจ) มีโอกาสระบาดมากกว่า รวมคะแนนสูงสุด 11 คะแนน 0 - 2 คะแนน โอกาสเสี่ยงน้อย 3 - 5 คะแนน โอกาสเสี่ยงปานกลาง 6 - 7 คะแนน โอกาสเสี่ยงสูง 8 – 11 คะแนน โอกาสเสี่ยงสูงมาก/หรือวิกฤต

2. การพยากรณ์โรคอย่างง่าย พยากรณ์การระบาดในระยะไกล ใช้ข้อมูลระบบเฝ้าระวังระดับจังหวัด/อำเภอ มากกว่า 8 – 10 ปี (ดู trend) เลือกพื้นที่เสี่ยง 2.1. เป็นหมู่บ้านที่มีผู้ป่วยหรือมีการระบาดในปีก่อนหรือ หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยไม่ติดต่อกัน 3 ปี 2.2 เป็นหมู่บ้านที่ไม่เคยเกิดโรคแต่อยู่ใกล้พื้นที่เคยเกิดโรค เมื่อ 1 -3 ปี ที่ผ่านมา 2.3. เป็นหมู่บ้านที่ไม่เคยเกิดโรคและเป็นชุมชนหนาแน่น 2.4. เป็นหมู่บ้านที่มีการคมนาคมจากชุมชนใหญ่สะดวก และพื้นที่ที่มีการไปมาหาสู่กันเสมอ 2.5. เป็นหมู่บ้านที่มีความชุกชุมของยุงลายสูง

2. การพยากรณ์โรคอย่างง่าย พยากรณ์การระบาดในระยะใกล้ เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ทั้งคนและลูกน้ำ ถ้าพบว่าในช่วงปลายปีและต้นปี มีผู้ป่วยมากกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี แสดงว่า จะมีการระบาดรุนแรง (เน้นคุณภาพการรายงาน การวิเคราะห์ จากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรคที่ถูกต้อง ทันเวลา)

ความแม่นยำในการตรวจเพื่อช่วยวินิจฉัย การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกเบื้องต้น วิธีการ/ระยะเวลาของโรคหรือมีไข้ ไข้สูง หน้าแดง ไม่มีน้ำมูก tourniquet test วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 sensitivity 73.3 90.5 85.5 53.3 90.6 98.7 specificity 93.3 89.2 87.9 75.8 77.8 74.2 ที่มา : แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคไข้เลือดออกเดงกี กระทรวงสาธารณสุข ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 1 ปี 2546 (พญ.ศิริเพ็ญกัลยาณรุจ, พญ.สุจิตรานิมมานนิตย์ (หน้า 33-34)

สวัสดีค่ะ