แนวทางการดำเนินงานในการสำรวจพื้นที่ล่อแหลม ฝ่ายป้องกันปราบปราม สน.บางขุนนนท์ โดย พ.ต.ต.พจน์ แสงทา ตำแหน่ง สวป.สน.บางขุนนนท์
1. สำรวจกำลังพลสายตรวจ จำนวน คุณภาพ เพื่อคัดสายตรวจที่รู้พื้นที่และสามารถสรุปรายงานแบบสำรวจ ตาม ผนวก ง. ได้ดี และมีความรับผิดชอบ
2. ประชุม หัวหน้าสายตรวจ - กำหนดจุดล่อแหลมหลักๆทั่วทั้งพื้นที่ - จัดกำลังสายตรวจลงเขตพื้นที่จุดล่อแหลมจุดละ 1-2 นาย (ห้ามเกิน 2 นาย) สำรวจละเอียดทุกซอกทุกซอย ไล่เรียงที่ละซอยจนทั่วพื้นที่ การจัดสายตรวจลงเขตสำรวจ ต้องรู้พื้นที่ มีความรับผิดชอบ
3.แบ่งพื้นที่เขตสำรวจ (ทำแผนที่) พร้อมระบุผู้รับผิดชอบ โดยทำเป็นรูปแบบคำสั่งชัดเจน แผนที่เขตสำรวจไม่เกี่ยวกับแผนที่เขตตรวจ แผนที่ต้องครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด กำหนดแนวเขตติดต่อชัดเจน (แผนที่ยังไม่ได้แบ่งเขตสำรวจ)
3.1แผนที่ที่ได้ประชุมแบ่งเขตสำรวจแล้ว (จุดล่อแหลม1-7)
3.2 จุดล่อแหลม 8-11
3.3 จุดล่อแหลม 12-13
4.ประชุม 20 สายตรวจ ชี้แจงทำความเข้าใจภารกิจ อธิบายการกรอกแบบสำรวจ ตาม ผนวก ง. เริ่มออกสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูล และสำรวจเพิ่มเติม
5. นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามสภาพพื้นที่ สภาพแวดล้อม ระบบรักษาความปลอดภัย อุปกรณ์เตือนภัย ระบบตรวจตราดูแลพื้นที่ ช่วงเวลาที่มีความถี่ในการเกิดอาชญากรรม จุดอ่อนอื่นๆ
6. กำหนดมาตรการในการแก้ไขปัญหา โดยเจ้าหน้าที่ โดยอาศัยคนในพื้นที่ โดยหน่วยงานอื่น โดยระบบเทคโนโลยี โดยการจัดระบบป้องกันที่เหมาะสม บนแนวคิดที่ว่า SAFFER TOGETHER (ความร่วมมือเพื่อ ความปลอดภัยร่วมกัน)
7. จัดทำแฟ้มข้อมูล รวบรวมผลการดำเนินงาน สะดวกในการประเมิลผล
8. ประเมิลผล จากสถิติคดี จากความพึงพอใจของประชาชน
ตัวอย่าง การดำเนินการของ สน. บางขุนนนท์ ตัวอย่าง การดำเนินการของ สน.บางขุนนนท์ แผนที่สำรวจจุดล่อแหลมในเขตสำรวจที่ 2
จุดล่อแหลม ซอย จรัญฯ ๒๓ (ตรอกไผ่-บางเสาธง) เป็นทางเดินคอนกรีตยาวประมาณ 400 ม. ไปยังอพาร์ทเม้นท์สุดซอย
ภาพพื้นที่โดยภาพรวม ต้นซอยถึงกลางซอยยาว 400 ม ภาพพื้นที่โดยภาพรวม ต้นซอยถึงกลางซอยยาว 400 ม. กลางซอยถึงท้ายซอยยาว 400 ม.
ปากซอยเป็นทางแคบรถยนต์พอสวนกันได้ ปากซอยจรัญฯ 23 เวลากลางวัน วงกลมสีส้มบริเวณปากซอย ปากซอยเป็นทางแคบรถยนต์พอสวนกันได้
กลางซอยจรัญฯ 23 ภายในซอยจรัญฯ 23 เวลากลางวันมีผู้คนสัญจรไปมามาก
บริเวณภายในซอยจรัญฯ 23 กลางซอยถึงท้ายซอยยาวประมาณ 400 ม บริเวณภายในซอยจรัญฯ 23 กลางซอยถึงท้ายซอยยาวประมาณ 400 ม. เป็นทางคอนกรีต กว้างประมาณ 1.5 ม. แยกไปซ.จรัญฯ19 และจรัญฯ 25 ได้
เปรียบเทียบกลางวันกับกลางคืน ภายในซอยจรัญฯ 23 เวลากลางวัน ภายในซอยจรัญฯ 23 เวลากลางคืน เปรียบเทียบกลางวันกับกลางคืน
บริเวณที่ถ่ายภาพจุดเดียวกัน เปรียบเทียบกลางวันกับกลางคืน สุดซอยจรัญฯ 23 เวลากลางวัน สุดซอยจรัญฯ 23 เวลากลางคืน บริเวณที่ถ่ายภาพจุดเดียวกัน เปรียบเทียบกลางวันกับกลางคืน
นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามสภาพพื้นที่ สภาพแวดล้อม - ปรากฏตามผลสำรวจ ของสายตรวจ (ผนวก ง.) ระบบรักษาความปลอดภัย - มียาม 1 ผลัด 18.00 – 06.00 น. อุปกรณ์เตือนภัย - ไม่มี ระบบตรวจตราดูแลพื้นที่ - อาสาสมัครตรวจบริเวณต้นซอยถึงกลางซอยช่วงกลางคืน ช่วงเวลาที่มีความถี่ในการเกิดอาชญากรรม - เวลากลางคืน จุดอ่อนอื่นๆ ท้ายซอยเป็นทางคอนกรีตขนาดเล็กเชื่อมต่อหลายซอย กลางคืนมีแสง สว่างน้อยและคดเคี้ยว
กำหนดมาตรการในการแก้ไขปัญหา โดยเจ้าหน้าที่ - ก่อนหน้านี้ได้เข้าตรวจค้น ทำประวัติ ตรวจปัสสาวะ กลุ่มวัยรุ่นที่มั่วสุมหน้าอพาร์ทเมนท์สุดซอย จนปัญหาวัยรุ่นมั่วสุมหมดไป โดยอาศัยคนในพื้นที่ - ประสานเจ้าของอพาร์ทเมนท์ เพิ่ม รปภ. กลางวัน และติดวงจรปิด - ประสานประธานชุมชน จัดอาสาฯตรวจตราถึงสุดซอย (ประสานแล้ว) โดยหน่วยงานอื่น - ประสานไฟฟ้า เพิ่มไฟฟ้าส่องสว่างอีก 6 ดวง และซ่อมดวงที่ดับอีก 4 - ประสานเขตตัดแต่งกิ่งไม้ที่บังแสงสว่างจากหลอดไฟที่ตามทางเดินคอนกรีต โดยระบบเทคโนโลยี - ติดตั้งกล้องวงจรปิดปากซอยและทางแยกที่จะไปจรัญฯ19 และจรัญฯ25 โดยการจัดระบบป้องกันที่เหมาะสม