เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จงทำกับเพื่อนมนุษย์โดยคิดว่า
Advertisements

ส่งการบ้านในระบบ E-laering
3. เป้าหมายสูงสุด คือ นิพพาน
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
สื่อประกอบการเรียนรู้
พระวาจา ทรง ชีวิต กรกฎาคม 2008.
พระวาจาทรงชีวิต มิถุนายน 2012.
พระวาจา ทรง ชีวิต กุมภาพันธ์
รักทางพุทธศาสนา.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
บุญ.
สื่อประกอบการเรียนรู้
หลักธรรมสำคัญจากวันมาฆบูชา
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ความเชื่อในพระพุทธศาสนาในท้องถิ่นที่มีต่อสุขภาพกาย
เศรษฐกิจพอเพียง.
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
ชีวิตเป็นกระบวนการ (Process) อันยืดยาว
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
การใช้ปัญญา.
คุณเป็นคนที่มีอุดมการณ์หรือไม่ ???
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
กระบวนการอริยสัจ 4 เพื่อการแก้ไขปัญหา
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน บ้านโนนชัย ถนนราษฎร์คนึง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
ประเพณีชักพระ.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
Download ใน หรือ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
วันอาสาฬหบูชา.
นายกษิดิ์เดช วันโทน เสนอ เรื่อง วันสำคัญในพระพุทธศาสนา วิชา
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
แบบทดสอบศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
พระวาจาทรง ชีวิต ตุลาคม 2014.
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
งาน กำหนดกรอบ บรรยาย เคลื่อนไ หว อาชี พ ชีวิต เป็ น อยู่ ปรากฏความ เปลี่ยนแปลง เป็น ครู ข้าราชการครู พนักงา นรัฐ สอ น แนะ นำ เสนอ แนวคิด กำกับงานของ Stu-
การรู้สัจธรรมของชีวิต
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
ศาสนาคริสต์.
                                                                                       
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
เรื่อง ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ชีวิตหลัง ความตาย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา มาพบปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ที่นี่ก่อน

พุทธจริยศาสตร์ อุดมคติคือนิพพาน อุดมคติของพระพุทธศาสนา ในทางพระพุทธศาสนา ได้แบ่งเป้าหมายของชีวิตไว้ 3 ระดับ โดยเริ่มจากระดับต่ำสุดไปจนถึงสูงสุดดังนี้ 1.  เป้าหมายชีวิตในโลกนี้ 2.  เป้าหมายชีวิตในโลกหน้า 3.  เป้าหมายสูงสุดคือนิพพาน

1. เป้าหมายชีวิตในโลกนี้ คือ คิหิสุข ได้แก่ สุขของคฤหัสถ์ หรือ กามโภคีสุข คือ สุขอันเกิดมาจากการบริโภคกาม เป็นสุขโดยชอบธรรม มี 4 ประการ คือ 1. อัตถิสุข ความสุขจากการมีทรัพย์ ที่หาได้มาด้วยหยาดเหงื่อแรงงาน ความขยัน และความสุจริต 2. โภคสุข ความสุขจากการได้ใช้จ่ายทรัพย์ เลี้ยงดูตน และครอบครัวรวมถึง การบำเพ็ญประโยชน์

(อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต พระไตรปิฎกเล่ม 21 ข้อ 62 หน้า 90) 3. อนณสุข ความสุขจากการไม่ต้องเป็นหนี้ ทำให้ไม่ต้องอึดอัด รู้สึกสบายใจ 4. อนวัชชสุข ความสุขจากการประพฤติที่ไม่มีโทษ ทั้งทางกาย วาจา และทางใจ (ข้อนี้มีค่ามากที่สุด) (อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต พระไตรปิฎกเล่ม 21 ข้อ 62 หน้า 90)

สุขของคฤหัสถ์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กามสุข สุขของคฤหัสถ์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กามสุข เป็นการแสวงหาความสุขที่เกิดมาจาก กิน กาม เกียรติ อันเกิดมาจากกามคุณทั้ง 5 - ตาได้เห็นรูปสวย - หูได้ฟังเสียงที่ไพเราะ - จมูกได้ดมกลิ่นที่หอม - ลิ้นได้ลิ้มรสที่อร่อย - กายได้สัมผัสกับเย็น ร้อน อ่อน แข็ง อันเป็นสิ่งที่ น่าปรารถนา น่าพอใจ

พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ปฏิบัติหลักธรรมเพื่อให้ได้รับ คิหิสุข เรียกธรรมหมวดนี้ว่า ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม แปลว่า ธรรมที่เป็นไปเพื่อทำให้เกิดประโยชน์ในชาติปัจจุบัน (คนโบราณเรียกหลักธรรมนี้ว่าหัวใจเศรษฐี) มี 4 ประการคือ 1. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการขยันหาทรัพย์ รู้จักใช้ปัญญาจัดการงานให้ดี ด้วยความสุจริต

(อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต พระไตรปิฎกเล่ม 23 ข้อ 144 หน้า 289) 2. อารักขสัมปทา รู้จักเก็บรักษาทรัพย์ที่หามาได้ ไม่ให้เป็นอันตรายเสื่อมสูญ 3. กัลยาณมิตตตา รู้จักคบเพื่อนที่ดีมีคุณธรรม เช่น มี ศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา 4. สมชีวิตา รู้จักใช้จ่ายทรัพย์ จัดสรรงบประมาณรายรับ รายจ่ายให้ดี อย่าให้รายจ่ายมากกว่ารายรับไม่ให้ฝืดเคืองหรือฟุ่มเฟือยจนเกินไป (อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต พระไตรปิฎกเล่ม 23 ข้อ 144 หน้า 289)

2. เป้าหมายชีวิตในโลกหน้า เรียกว่า สัมปรายิกัตถสังวัตตนิกธรรม ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ในชาติหน้า ในระดับนี้หมายความว่า เมื่อมีทุกอย่างสมบูรณ์ครบถ้วนในโลกนี้แล้ว ก็ให้ทราบความจริงของชีวิตว่า การมีชีวิตอยู่ในโลกนี้เป็นการมาอยู่ชั่วคราว เหมือนการมาเช่าโรงแรมอยู่ได้เพียงชั่วระยะหนึ่ง จากนั้น ก็ต้องออกจากโรงแรมนั้นไป นั่นคือ การจะต้องตายอำลาจากโลกนี้ไปสู่โลกหน้า

ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาถือว่า การเกิดและการตายนั้นเป็นสิ่งที่มีเงื่อนไข ถ้ายังมีกิเลสก็ยังต้องเวียนว่ายตายเกิด ถ้าหมดกิเลสก็ไม่ต้องเกิด

เพราะฉะนั้น ตราบเท่าที่ยังเวียนเกิดเวียนตายก็ควรมี สุคติ คือ การไปเกิดในสถานที่ที่เป็นสุข มีมนุษย์ 1 สวรรค์ 6 ชั้น และพรหม 20 ชั้น อย่าได้ไปเกิดใน ทุคติ คือ การไปเกิดที่ไม่ดี เรียกว่า อบายภูมิ 4 คือ 1. สัตว์นรก 2. เปรต 3. อสุรกาย และ 4. สัตว์เดรัจฉาน

3. เป้าหมายสูงสุด คือ นิพพาน

นิพานคือ สภาวะที่จิตว่างเปล่าปราศจากกิเลสคือ โลภะ ความอยากได้, โทสะ ความโกรธ, โมหะ ความหลง (นิพพานํ ปรมํ สุญญํ) นิพพานคือ สภาวะที่จิตเต็มไปด้วยความสุขที่แท้จริง อันเป็นสุขไม่แปรเปลี่ยนไปเป็นทุกข์ (นิพพานํ ปรมํ สุขํ) นิพพานคือ สภาวะที่จิตมีอิสรภาพอย่างสมบูรณ์ เพราะหลุดพ้นจากความชั่วคือกิเลสทั้งปวง จึงเป็นจิตที่หมดความเห็นแก่ตัว ชีวิตที่เหลืออยู่จึงเป็นชีวิตที่เป็นประโยชน์แก่มหาชน ในจิตจึงมีแต่กุศลความดี ที่จะทำประโยชน์แก่ผู้อื่น โดยที่ไม่ต้องคำนึงถึงตนเอง เพราะการถึงนิพพานชื่อว่าทำประโยชน์ของตนให้บริบูรณ์ได้แล้ว

นิพพานแบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ 1. สอุปาทิเสสนิพพาน ดับกิเลสในใจได้แล้วแต่ยังมีชีวิตอยู่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กิเลสนิพพาน ตัวอย่าง พระพุทธเจ้าดับกิเลสในพระทัยของพระองค์ได้ที่ ใต้โคนต้นศรีมหาโพธิ์ เมื่อพระชนมายุได้ 35 พรรษา

2. อนุปาทิเสสนิพพาน คือ ความตายของพระอรหันต์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ขันธนิพพาน ตัวอย่าง พระพุทธเจ้าปรินิพพานใต้ต้นนางรังทั้งคู่ ที่เมืองกุสินารา เมื่อพระชนมายุ 80 พรรษา