องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Risk Management JVKK.
Advertisements

สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร
องค์ประกอบที่ 5 และ 7.3 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ และผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
(ด้านงานอาชีวอนามัย)
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ : โรงพยาบาลมี วิธีการจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อย่างไร 40 คะแนน ให้อธิบายวิธีการในการจัดการด้าน โครงสร้าง อาคารสถานที่ รวมถึงการจัดการ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในแผนกต่างๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานว่าด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อม อธิบายแนวทางการถ่ายทอด เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others 1

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมี แนวทางการดำเนินงาน(A) การถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ(D) รวมทั้งทบทวนและปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น (LI)ในเรื่องการจัดการโครงสร้างด้านกายภาพและการจัดการ สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ต่อไปนี้อย่างไร

• การกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ตามหลักสุขาภิบาลและ กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2545 โรงพยาบาลโดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม (ENV) และคณะกรรมการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล (IC)เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการกำหนดมาตรการต่าง ๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานหรือกฎหมายที่บัญญัติไว้ (A) ได้มีการชี้แจงให้เจ้าหน้าที่ทั้งโรงพยาบาล ทั้งในรูปแบบของการจัดอบรม การเยี่ยมประเมินหน่วยงาน (D) แล้วนำผลการประเมินมาปรับปรุงกระบวนการทำงานโดย............................

• การบำบัดน้ำเสียและตรวจคุณภาพน้ำตามมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งของกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีการดำเนินการตรวจระบบบำบัดน้ำเสีย โดยเจ้าหน้าที่จากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล (ENV) ผลการตรวจสอบผ่านมาตรฐานการตรวจวัด ปัญหาที่พบคือเครื่องเติมมคลอรีนเกิดการชำรุดทำให้ปริมาณคลอรีนที่เติมไม่สม่ำเสมอ ส่งผลให้ค่าต่างๆ เกิดความผิดปกติ จะมีการหาสาเหตุและดำเนินการแก้ไข………………………..

ส่วนเรื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ • การจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ โรงพยาบาลมีผู้รับผิดชอบเป็นคณะกรรมการร้านอาหาร มีระบบการดูแลเรื่องมาตรฐานร้านอาหารคณะกรรมการเป็นผู้ดูแล เช่น เรื่องความสะอาดของอาหาร ความสะอาดของผู้ ประกอบอาหารและผู้ขาย มาตรฐานการการตั้ง วางอาหารและภาชนะบรรจุ และประกอบอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste ส่วนเรื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ กลุ่มงานโภชนศาสตร์ได้ประเมินตนเองอยู่ในระดับที่สามารถพัฒนาได้

• อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน สาหรับสถานการณ์โรคและสิ่งคุกคามสุขภาพของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (RAH06) ปี ๒๕๕๖ พบว่า……………… เรื่องอุบัติเหตุจากการทำงาน พบว่า พนักงานเปลและพนักงานเข็นรถอาหารของกลุ่มงานโภชนศาสตร์มีปัญหาเรื่องทางลาดชัน ต้องใช้แรงเข็นรถมากกว่าปกติเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้

• การจัดการให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ ที่ป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออก การดำเนินการควบคุมและกำจัดยุงลายของโรงพยาบาลโดยใช้กลวิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าเพื่อมุ่งเน้นการเฝ้าระวัง และผสมผสานการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์และการกำจัดยุงตัวเต็มวัยไปพร้อม ๆ กัน ทั้งในหอผู้ป่วย หน่วยงานในโรงพยาบาล พื้นที่ภายนอกอาคาร และบ้านพักเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ดำเนินการควบคุม แหล่งเพาะพันธุ์และการกาจัดยุงตัวเต็มวัย ตามข้อแนะนำของสานักงานป้องกันควบคุมโรค

3.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม : โรงพยาบาลมี 3.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม : โรงพยาบาลมี วิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม อย่างไร 40 คะแนน อธิบายวิธีการในการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อ สร้างบรรยากาศในการทำงาน ซึ่งนำไปสู่การเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ และแนวทาง การถ่ายทอดเพื่อนำไปสู่ การปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีแนวทางการดำเนินงาน(A) การถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ (D) รวมทั้ง ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการทำงาน(LI)เพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น ในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อทำให้สิ่งเหล่านี้บรรลุผลได้อย่างไร • บรรยากาศ การต้อนรับและบริการที่เป็นมิตร • การจัดกิจกรรมที่สนับสนุน การมีส่วนร่วม และปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคลากรหรือระหว่างผู้ให้บริการกับ ผู้รับบริการและบรรยากาศที่ดีในการทำงานที่ดีขึ้น

ตัวอย่างสมมติ โรงพยาบาลมีการจัดอบรมพฤติกรรมบริการให้กับเจ้าหน้าที่ทุกระดับทุกปี และมีการประสาน ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานด้านการบริการ มีการชื่นชมผู้มีพฤติกรรมบริการที่ดีเยี่ยม โดยติดบอร์ดประชาสัมพันธ์บริเวณตึกผู้ป่วยนอก มีการจัดจุดพยาบาลสัมพันธ์ด่านหน้าของโรงพยาบาล โดยจัดพยาบาลและเจ้าหน้าที่มาปฏิบัติหน้าที่ในการคัดกรองผู้ป่วยเพื่อคัดแยกประเภทคนไข้ตามความรุนแรงและเร่งด่วนไปตามห้องตรวจที่เหมาะสมกับสุขภาพคนไข้ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ในการต้อนรับ ให้ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สื่อสารกับผู้มารับบริการ เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี…………………………………….

3.3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ : โรงพยาบาลมีวิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ อย่างไร 40 คะแนน อธิบายวิธีการในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ แนวทาง การถ่ายทอดเพื่อนำไปสู่ การปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่ว ทั้งองค์กร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีแนว ทางการดำเนินงาน การถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งทบทวนและปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น ในเรื่อง การจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ โดยพิจารณาปัจจัยต่อไปนี้ อย่างไร (ADLI) • การจัดสถานที่พักผ่อน สถานที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาทักษะของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว และประชาชน • การจัดให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ ตาม พรบ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551

การจัดสถานที่พักผ่อน สถานที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาทักษะของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว และประชาชน จากผลการประชุมทีมบริหารโรงพยาบาลและการสอบถามความคิดเห็นของบุคลากร รวมทั้งผู้มารับบริการ จึงได้มีการปรับโครงสร้างด้านกายภาพเพื่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ทั้งด้านการให้บริการ การส่งเสริม สุขภาพ ภูมิทัศน์ที่สวยงาม โรงพยาบาลมีพื้นที่ที่เป็นอาคารักษาพยาบาล อาคารสนับสนุน และอาคารพักอาศัย

การจัดให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ ตาม พรบ การจัดให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ ตาม พรบ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 การประเมินผลโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มีการดำเนินการติดป้ายแสดงเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกำหนดทุกอาคาร นอกจากนี้โรงพยาบาลยังสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเป็นแบบอย่างที่ดีด้านสุขภาพ โดยเฉพาะเรื่องการเลิกสูบบุหรี่ซึ่งมีตัวอย่างเจ้าหน้าที่ที่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้เพิ่มขึ้น

องค์ประกอบที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 250 คะแนน 7.1 ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อม : ผลการ ดำเนินงาน ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นอย่างไร 60 คะแนน สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ โดยแสดงผลลัพธ์จำแนกใน แต่ละด้าน รวมทั้งให้แสดงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others 14

แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ (1) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (2) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางสังคม (3) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7.1(1) – (3) เป็นการแสดง ผลลัพธ์ของโรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 3 และผลลัพธ์ที่ควรรายงานเพิ่มเติม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ - ผลการตรวจคุณภาพน้ำบริโภคทางห้องปฏิบัติการ - ผลการตรวจคุณภาพน้ำเสีย - ผลลัพธ์ของการจัดการสุขาภิบาลโรงอาหารโรงครัว - ผลลัพธ์ของการจัดการมูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อ สิ่งแวดล้อมทางสังคม - ผลการประเมินความพึงพอใจผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และข้อร้องเรียนต่างๆ สิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ - ผลการประเมินสื่อ สถานที่ และอุปกรณ์ที่เอื้อ/กระตุ้นต่อการส่งเสริมสุขภาพ

แนวทางการให้คะแนน องค์ประกอบที่ 7 - มีการรายงานผลการดำเนินการที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อและผลอยู่ในระดับที่ดี (Le) - แสดงถึงแนวโน้มที่ดีอย่างชัดเจนในเรื่องต่างๆ ที่มีความสำคัญต่อการบรรลุพันธกิจของโรงพยาบาล (T) - ผลการดำเนินการในปัจจุบันบางเรื่องอยู่ในระดับที่ดี เมื่อเทียบเคียงกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม (C) - มีการรายงานผลลัพธ์ที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว ญาติ ชุมชน และกระบวนการเป็นส่วนใหญ่ (I) 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน Public health professionals include, but are not limited to the following: u     Administrators u     Biostatisticians u     Dieticians u     Environmental health specialists u     Epidemiologists u     Health care providers u     Health communication specialists u     Health educators u     Health law experts u     Labratorians u     Occupational health specialists u     Public health nurses u     Researchers u     Sanitarians u     Social scientists u     Toxicologists u     Others 17 17