การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
จำนวนผู้มารับบริการฝากครรภ์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการสำคัญ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ปีงบฯ 2551

สถานะทางสุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก อัตราส่วนการตายของมารดา อัตราส่วนการตายของทารก อัตราตายปริกำเนิด ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกคลอด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม การติดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูก เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย

อัตราส่วนการตายมารดา อัตราส่วนการตายของมารดา เขต 1 ปี 50 ปี 49 ไม่เกิน 18 : 100,000 การเกิดมีชีพ

อัตราตายทารกปริกำเนิด เขต 1 ปี 50 ปี 49 อัตราไม่เกิน 9 : 1,000การเกิดมีชีพ

อัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน เขต 1 ต่อพันการเกิดมีชีพ ปี 50 ปี 49 เป้าหมายไม่เกิน 30: ต่อพันการเกิดมีชีพ

ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ ปี 50 ปี 49 เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 7

เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ปี 50 ปี 49 ระดับประเทศ 67.7 เป้าหมายไม่ต่ำ 90: ต่อพันการเกิดมีชีพ

อัตราเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ติดเชื้อเอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก อัตราเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ติดเชื้อเอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก ปี 50 เป้าหมายเกิน ร้อยละ 6

โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ปีงบฯ 2551

วัตถุประสงค์ 1. บูรณาการ และเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการอนามัยแม่ และเด็ก ในสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และชุมชน แบบองค์รวม (Integrated Care) 2. พัฒนาองค์ความรู้ และระบบการบริการอนามัยแม่และเด็กที่มีมาตรฐาน และอย่างต่อเนื่อง (Continuum of Care)

เป้าหมาย โรงพยาบาลรัฐ และเอกชน ร้อยละ 90 เข้าร่วมโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 2. โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทองอย่างน้อยจังหวัดละ 2แห่ง

การพัฒนาอนามัยแม่ และเด็ก ยุทธศาสตร์งานอนามัยแม่และเด็ก 6. การควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล 1.สร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่ายชมรม/แกนนำ/อาสาสมัคร 5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและพัฒนาองค์ความรู้ การพัฒนาอนามัยแม่ และเด็ก 2. การลงทุนเพื่อการพัฒนาระบบบริการ MCH ที่ได้มาตรฐาน 4. การชี้นำสังคม โดยการสร้างกระแส และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก 2551 ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก 2551 เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือ ชมรม/แกนนำ/อาสาสมัคร สายใยรักแห่งครอบครัว 1.1 ประกวดสุดยอดคุณแม่ 1.2 เสวนาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ สมาชิกชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว 1.3 เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พ่อ แม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กโรงเรียนพ่อ แม่ใน คลินิกWCC 1.4 เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พ่อ แม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กในศูนย์เด็กเล็กฯ 1.5 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง โรงเรียนตชด. อาหารปลอดภัย สุขาน่าใช้ เด็กไทยฟันดี 1.6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สุขศาลาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยเขา แม่ฟ้าหลวง

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน การลงทุนเพื่อพัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็กที่ได้มาตรฐาน 2.1 พัฒนาโรงพยาบาลทั้งภาครัฐ และเอกชนให้ผ่าน เกณฑ์โรงพยาบาลสายใยรักแห่ง ครอบครัว 2.2 ระบบบริการส่งเสริม ป้องกันและควบคุม โรคธาลัสซีเมีย 2.3 ระบบบริการป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก 2.4 ระบบการป้องกันภาวะปัญญาอ่อนจากพร่องธัยรอยด์ 2.5 ระบบติดตามมารดาหลังคลอดเพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่ 6 เดือนทางโทรศัพท์

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ ชี้นำโดยสร้างกระแสสังคม และการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ - รวมพลคนเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในสัปดาห์ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ประมาณ 10,000 คนเพื่อลง Guinness - ประชาสัมพันธ์ทางวิทยุและโทรทัศน์ การแถลงข่าว จัดนิทรรศการ - Call center การติดตาม ให้ความรู้ การปรึกษา ภาวะพร่องธัยรอยด์ - Press Conference ผู้สื่อข่าว 4 ครั้ง - เอกสารวิชาการ คู่มือปฏิบัติ แบบประเมินสายใยรัก - พิมพ์สมุดบันทึกสุขภาพ - ชุดนิทรรศการ สารคดีโทรทัศน์ วิทยุ เอกสารเผยแพร่ ซีดี งานแม่และเด็ก

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 5. พัฒนาศักยภาพบุคลากรและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก 5.1 พัฒนาศักยภาพบุคคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง 1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อพัฒนาระบบบริการระดับนโยบาย และวิชาการ คณะอนุกรรมการ กำกับติดตาม 2. พัฒนาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับ เรื่อง ระบบริการANC/หญิงหลังคลอดอย่างมี คุณภาพ 3. เสริมสร้างศักยภาพเจ้าหน้าที่ฯระดับ PCU เรื่อง ระบบบริการคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ 4. อบรมเชิงปฏิบัติการการให้การปรึกษาและการตรวจกรองเด็กกลุ่มอาการดาวน์และเด็กภาวะ ปัญญาอ่อนจากภาวะต่อมธัยรอยด์บกพร่อง 5. อบรมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่คลินิกเด็กดี เรื่อง การให้การปรึกษาและกระตุ้นพัฒนาการ เด็ก 6. อบรมเชิงปฏิบัติการ Miss. Milk 7. ประชุมวิชาการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 8. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครูชั้นอนุบาลและพี่เลี้ยงเด็ก เรื่อง การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 9. ประชุมคณะกรรมการพัฒนานโยบายและคณะทำงานวิชาการธาลัสซีเมีย 10.อบรมสูติแพทย์ การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด 11.อบรมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็กระดับเขต 12.อบรมผู้ประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 13.อบรมหลักสูตรการให้การปรึกษาเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอช ไอ วี

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 5.2. ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีงาน อนามัยแม่และเด็ก 1. ศึกษาระบบริการ ANC คุณภาพ (4 ภาค ) 2. ศึกษาระบบบริการWCC คุณภาพ (4 ภาค ) 3. ศึกษารูปแบบการให้บริการส่งเสริมสุขภาพเด็กที่เกิด จากแม่ติดเชื้อ เอช ไอ วี 4. ศึกษาพฤติกรรมของครอบครัวต่อการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย 5.ประเมิน สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 6. ประเมินผลกระทบเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อเอช ไอ วี

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 6. การควบคุมกำกับ ติดตามและประเมินผล 1. ประชุมคณะกรรมการควบคุมกำกับเพื่อเสนอผล การดำเนินงานทุก 6 เดือน 2. ทีมประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 4. ทีมนิเทศ ติดตามงานเฉพาะกิจ 13 ทีม 5. ระบบรายงานเฉพาะกิจ/ ก1 ก2 แบบอิเลคทรอนิค 6. สำรวจข้อมูลการตายของมารดาและทารก

ระบบบริการคุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี  รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย  รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก  โรงเรียนพ่อแม่  คลินิกนมแม่  คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  ฝากครรภ์คุณภาพ - ฝากครรภ์ก่อน 12 เดือน - คัดกรอง Thal / HIV  โรงเรียนพ่อแม่  อาหาร และโภชนาการ  ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  WCC คุณภาพ  โรงเรียนพ่อแม่  ตรวจพัฒนาการเด็ก  โภชนาการ  นิทาน ของเล่น  ทันตสุขภาพ  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / ชมรมแม่อาสา/ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 หรือลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 0.5 ต่อปี  เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 25 หรือเพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 2.5 ต่อปี  เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90

การป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติในประเทศไทย

แผนงานธาลัสซีเมียแห่งชาติ พ.ศ. 2550 - 2554

การบริหารจัดการการสนับสนุนการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียงบฯ ปี 2551 ตรวจวินิจฉัย ก่อนคลอด บริการตรวจ คัดกรอง OF,DCIP บริการตรวจแยกชนิด ฮีโมโกลบิน ตรวจหาแอลฟ่า ธาลัสซีเมีย ค่าบริการ สิ้นสุด การตั้งครรภ์ โรงพยาบาลที่ ให้บริการส่ง เบิกกรมฯ งบประมาณ รายละ 250 บาท ตามจำนวนที่ทำ โรงพยาบาล ที่ให้บริการ ส่งเบิกกรมฯ รายละ 2,500 บาท ตามจำนวน ที่ทำ โรงพยาบาลที่ ให้บริการส่งเบิก กรมฯงบประมาณ รายละ 350 บาท ตามจำนวนที่ทำ ขอเบิก จาก กรมอนามัย OF =13 DCIP=17 โรงพยาบาล ที่ให้บริการ ส่งเบิกกรมฯ รายละ 1,500 บาท ตามจำนวนที่ทำ กรมอนามัยจัดสรร ตามข้อมูลรายงาน สปสช

โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว มาตรฐาน โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว

ขั้นตอนการประเมิน ผู้รับการประเมิน / ประเด็นการประเมิน - ผู้บริหาร / หัวหน้างาน - ผลลัพธ์สถานภาพสุขภาพแม่และเด็ก - กระบวนการบริการคุณภาพ (ห้องฝากครรภ์, ห้องคลอด, หลังคลอด, ทารกแรกเกิด, คลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็ก) - ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว - เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล แบบสอบถามผู้รับบริการ - แผนกฝากครรภ์ - ตึกหลังคลอด - คลินิกสุขภาพเด็กดี

สถานบริการ ส่งรายงาน สสจ.6 ด.ครั้ง สปสช.รายงาน รัฐบาล 6 เดือนครั้ง ระบบรายงานเฉพาะกิจ โครงการธาลัสซีเมียฯ ปี 2551 สถานบริการ ส่งรายงาน สสจ.6 ด.ครั้ง สปสช.รายงาน รัฐบาล 6 เดือนครั้ง สสจ. ส่ง ศูนย์ฯ 6 เดือนครั้ง กรมอนามัย ส่งสปสช.6 เดือนครั้ง ศูนย์ฯ ส่ง กรมฯ 6 เดือน

เป้าหมาย สวัสดี โรงพยาบาลรัฐ และเอกชน ร้อยละ 90 เข้าร่วมโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 2. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินระดับทองอย่างน้อยจังหวัดละ 2แห่ง