ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Advertisements

ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
DHS.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์ โครงการวิจัยปฏิบัติการเสริมสร้างพลังชุมชนอย่างมีส่วนร่วม ในการส่งเสริมทันตสุขภาพของเด็กวัยก่อนเรียน และประถมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ด้วยการใช้กระบวนการสุนทรียปรัศนี และขุมทรัพย์ชุมชน ปีงบประมาณ 2554 – 2556 The Participatory Action Research on Community Empowerment focused on Dental Health Promotion in Preschool and Primary School Children in Chiang Mai Province on 2011 - 2013. ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์

วัตถุประสงค์ ศึกษาและรวบรวมสินทรัพย์ชุมชนโดยใช้รูปแบบและกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ศึกษารูปแบบการพัฒนาความสามารถของผู้นำการเปลี่ยนแปลงในชุมชน และเสริมสร้างพลังชุมชน ศึกษาแนวทางที่เหมาะสมในการเสริมสร้างพลังชุมชนอย่างมีส่วนร่วม ในการส่งเสริมทันตสุขภาพของเด็กวัยก่อนเรียน และประถมศึกษา

กิจกรรมปี 2554 1. ประสานการดำเนินการวิจัย และทำข้อตกลงการวิจัย (MOU) ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ประชุมวางแผนการดำเนินการวิจัยร่วมกับพื้นที่ 3. พัฒนาศักยภาพภาคีการวิจัย เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ภายใต้แนวคิดการเสริมสร้างพลังชุมชนตามกระบวนการสุนทรียปรัศนีและการใช้สินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน

กิจกรรมปี 2554 4. การศึกษาดูงานพื้นที่จังหวัดแพร่และเชียงราย 5. ศึกษาชุมชนใช้วิธีการศึกษาเชิงบวกแบบมีส่วนร่วม และค้นหาศักยภาพและขุมพลังชุมชน (Community Asset ) โดยใช้กระบวนการสุนทรียปรัศนี และการใช้สินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน 6. ถอดบทเรียนรู้และประเมินผลการวิจัยอย่างมีส่วนร่วม หลังดำเนินการวิจัยระยะที่ 1 (Phase Ⅰ Formative Evaluation) 7. สรุปรายงานความก้าวหน้าของการดำเนินการวิจัยระยะที่ 1

กิจกรรมที่ชุมชนดำเนินการ/สนับสนุนชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การตรวจฟัน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ทันตบุคลากร อาสาสมัครสาธารณสุข(ผ่านการอบรม) ประชุมผู้ปกครอง คืนข้อมูลพฤติกรรม/สภาวะทันตสุขภาพ วิทยากรให้ความรู้ทันตสุขภาพ สาธิตทำอาหารอ่อนหวาน ควบคุมการนำขนมมาโรงเรียน

กิจกรรมที่ชุมชนดำเนินการ/สนับสนุนชุมชน การจัดงานวันเด็ก(ตรวจฟันเด็กเล็ก) โรงเรียนประถมศึกษา ปลูกผักสวนครัว ปราศจากน้ำอัดลม

จุดเด่น ชุมชนเสนอโครงการเพื่อของบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนงบประมาณ (จากกองทุนสุขภาพ) ชุมชนเป็นเจ้าภาพดำเนินงาน

จุดเด่น ผู้นำชุมชนหลากหลายประเภทเป็นเจ้าภาพดำเนินการ อสม. อปท. ครูพี่เลี้ยง ผอ.รร. รพ.สต.

จุดเด่น การติดตามงาน การกระตุ้นการดำเนินงาน การติดตามงาน การกระตุ้นการดำเนินงาน การสนับสนุนสิ่งของ ให้กำลังใจผู้นำ ในการปฏิบัติงาน ความสนิทสนมคุ้นเคยกับผู้นำชุมชน

สิ่งที่ต้องพัฒนา ชุมชนต้องการให้ช่วยคิดแผนงาน/กิจกรรม การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ความต่อเนื่อง/ยั่งยืนของการพัฒนา ความเป็นเจ้าของโครงการ

สิ่งที่ต้องพัฒนา การสนับสนุนจากทีมงาน ตารางการปฏิบัติงาน ค่าตอบแทนที่ปรึกษา ทักษะการเขียนรายงานวิจัยเชิงคุณภาพ

แผนการดำเนินงานในปี 2555 กิจกรรม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิ ย กค สค ก ย 1.ขออนุมัติคณะกรรมการจริยธรรม 2. ประสาน/สนันสนุน การดำเนินงาน

แผนการดำเนินงานในปี 2555 กิจกรรม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิ ย กค สค ก ย 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาทีมงาน 4. ติดตามงาน/ ถอดบทเรียน 5. การเขียนรายงาน

งบประมาณ ปี 2554 ขอ 205.000 บาท ได้รับ 305,000 บาท เหลือ 85,000 บาท ปี 2554 ขอ 205.000 บาท ได้รับ 305,000 บาท เหลือ 85,000 บาท ปี 2555 ขอ 205,000 บาท

แผนการใช้งบประมาณ เดือน แผนกิจกรรม แผนงบประมาณ ต.ค.-54 ประชุมเครือข่าย 10000 พ.ย.-54   ธ.ค.-54 ประชุมผู้ปกครอง 5000 ม.ค.-55 ซื้อวัสดุ ก.พ.-55 มี.ค.-55 ติดตามงาน เม.ย.-55 สนับสนุนการดำเนินงาน พ.ค.-55 มิ.ย.-55 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 90000 ก.ค.-55 ส.ค.-55 ตอบแทนที่ปรึกษา/ 40000 ก.ย.-55 จัดทำรายงาน รวม 205000

การสนับสนุนที่ต้องการ ผู้จดบันทึกการประชุม / ทำรายงานการประชุม ผู้ประสานงาน การเงิน เจ้าหน้าที่โสตฯ(ถ่ายรูป บันทึกเสียง) เจ้าหน้าที่ลงทะเบียน พิธีกร