การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
Research Mapping.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ การบริหารจัดการยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ วันที่ 1 - 2 มิถุนายน 2552 ณ สะเมิงรีสอร์ท อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อนำไปสู่การดำเนินการพัฒนาในพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม 2. เพื่อเป็นรูปแบบการทำงานเชิงบูรณาการระหว่าง กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค

“ วิทยากร อธิบดี 2 กรม และผู้เข้าร่วมประชุม “

การลงนามความร่วมมือระหว่างกรมควบคุมโรค และ กรมอนามัย วันที่ 2 มิถุนายน 2552 ณ สะเมิงรีสอร์ท อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ นายแพทย์ มล.สมชาย จักรพันธุ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์ ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย

ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วมระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายใน พ.ศ. 2553 ( สร้างเมื่อ2 มิถุนายน 2552) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัยในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (แสดงกลยุทธ์สำคัญ (*) และกิจกรรมสำคัญ (-)) * สร้างมาตรการทางสังคม อย่างมีส่วนร่วม -จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ *พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนชุมชน -ประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนฯ ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... -สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน *สนับสนุนการจัดทำข้อตกลงร่วม - สนับสนุนการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง *ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทเครือข่าย องค์กรชุมชน -ประชุมส่งเสริมการสร้างบทบาทและ หาข้อตกลงร่วม *ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน/โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน -จัดเวทีประชาคม *สนับสนุนให้มีและใช้แผนที่ฯ -กระบวนการติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ *สร้างนวัตกรรมกระบวนการ ร่วมกับภาคี -สนับสนุนส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ *พัฒนาระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ -จัดเวทีสานเสวนาสื่อมวลชน *สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีม -สร้างจริยธรรมการทำงานร่วมกัน องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน *พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัยเป็นจริง -สร้างกระบวนการจัดการข้อมูล บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม *พัฒนาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ -พัฒนากระบวนการในแผนปฏิบัติ การเป็นกิจกรรมตามตาราง11ช่อง

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วมระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แสดงเส้นทางสำคัญแรกที่ดำเนินการ (เส้นทางแดง) และ roadmap กระบวนงานที่แนะนำ (กล่องสีเขียว) เปิดงานใช้กระบวนการสร้างบทบาทประชาชน (ทำที่ตำบล) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 ประชาชน ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ ปรับใช้แผนปฏิบัติการ กับโครงการของ อบต.(ทำที่ อบต) 3 กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง 2 สร้างแผนปฏิบัติการ วางตัวผู้รับผิดชอบ (ทำที่ตำบล) การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ 1 1.สอนการสร้างและใช้ แผนที่ฯยุทธศาสตร์ (สังเขป) 2. ปรับ SLM ฉบับนี้ตามบริบท สร้างตาราง 11 ช่อง (ทำที่อำเภอ) องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วมระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัย ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แสดงกลยุทธ์และกิจกรรมสำคัญแรกที่ดำเนินการ (เส้นทางแดง) * สร้างมาตรการทางสังคม อย่างมีส่วนร่วม -จัดเวทีสมัชชาสุขภาพ *พัฒนาระบบเฝ้าระวังและติดตาม... -สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ *สนับสนุนการจัดทำข้อตกลงร่วม - สนับสนุนการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง *สนับสนุนให้มีและใช้แผนที่ฯ -กระบวนการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง *ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน/โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน -จัดเวทีประชาคม ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม *พัฒนาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ -พัฒนากระบวนการในแผนปฏิบัติ การเป็นกิจกรรมตามตาราง11ช่อง

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วมระหว่างกรมควบคุมโรคและกรมอนามัยในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สำหรับระยะที่ 1(ภายใน 1 เดือน) แสดงกิจกรรมสำคัญที่ควรทำ ส่วนงานหรือการกระทำกำหนดโดยคณะผู้รับผิดชอบที่กำหนดตามข้อตกลง ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามประเด็นที่กำหนดโดย SLM ประชาชน จัดเวทีสมัชชาสุขภาพเพื่อสร้างมาตรการทางสังคม สร้างแกนนำเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพชุมชน จัดเวทีประชาคมทำแผนงานโครงการร่วมกับท้องถิ่น ภาคี เตรียมการจัดทำแผนงานร่วมระหว่างองค์กร (สธ/ท้องถิ่น) กระบวนการ สร้างแผนปฏิบัติการ ตามประเด็นวางตัวผู้รับผิดชอบ (ทำที่ตำบล) -1.สอนการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ อย่างสังเขป -2.ปรับ SLM ร่วม 2 กรมตามประเด็น สร้างตาราง 11 ช่อง (ทำที่อำเภอ) พื้นฐาน