การถอดแบบและคำนวณ ปริมาณงานก่อสร้างทางหลวง โดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

เดินเท้า เดินถนนที่หาดใหญ่
HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
การจราจร.
ทำเลที่ตั้งสถานศึกษา
ด้านคมนาคม/โครงสร้างพื้นฐาน
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
กฏระเบียบความปลอดภัย ของพนักงานขับรถบรรทุกสินค้า
การบรรยายหัวข้อ เทคนิคการควบคุมงานก่อสร้าง
เรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
การจัดทำแผนงานซ่อมบำรุงทาง
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
Smart Growth Implementation
แนวทางการเลือกพื้นที่เป้าหมาย
การวิเคราะห์ความมั่นคงของโครงสร้างหิน
“ความรู้เรื่องกฎจราจร” สถานีตำรวจภูธรอำเภอหาดใหญ่
ขั้นตอนการออกแบบทาง.
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
สวนหิน (Rock garden) ดร.สุภาพรรณ ธรรมสุวรรณ ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
Location Problem.
การขนส่งผักและผลไม้.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ
ลักษณะงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละฝ่าย ในหน่วยงาน ส่วนเครื่องจักรกล สชป.1 มีดังนี้
โครงการชลประทานหนองคาย
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
โครงสร้างภายใน สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ปี พ.ศ. 2551
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
การถ่ายโอนถนนให้แก่ อปท. ตามแผนการกระจายอำนาจฯ ระยะทาง 13,810 กิโลเมตร
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน 1 ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒ ๕ ๕ 7.
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
การปูผิวแบบเว้นร่องระบายน้ำข้างcurb
การศึกษาความเป็นไปได้ FEASIBILITY STUDY
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
เส้นทางหลวงหมายเลข 34 (บางนา-ตราด) ขาออก ที่คาดว่ามีการจราจรติดขัด
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คู่มือผลิตภัณฑ์ - สำหรับตัวแทนจำหน่าย - MICHELIN อีกขั้นของความแข็งแกร่ง ทนทานเพิ่มขึ้น 20% ยางมอเตอร์ไซค์มิชลินถูกออกแบบและผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงที่ทำให้ได้
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำเครื่องหมายแสดงในบริเวณเขตระบบการขนส่งน้ำมัน ทางท่อ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 กันยายน 2554.
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
7.5 วิธีการวัดน้ำท่า(streamflow measurement)
ข้อมูลการออกแบบท่าเรือ โครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา ระยะที่1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
“ทช.โปร่งใส ใส่ใจคุณธรรม นำความซื่อสัตย์ ขจัดการทุจริต”
กิจกรรมอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
โครงการก่อสร้างจุดจอดพักรถบรรทุก(Truck Rest Area)
การพังทลายของคันทางเนื่องจากน้ำลดระดับอย่างรวดเร็ว (Rapid Drawdown)
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม เรื่อง การป้องกันอุบัติภัย เรื่อง.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวารที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง เรื่องที่ 2  เรื่องการรายงานอุบัติเหตุ ( สอป.)  จัดทำหรือปรับปรุงระบบการรายงานการเกิด อุบัติเหตุให้มีประสิทธิภาพ.
การเตรียมความ พร้อม และแนวทางการ จัดกิจกรรม ช่วงเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๖ สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท.
แผนการดำเนินงาน การบำรุงรักษาระบบโครงข่ายทางหลวงชนบท งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 สำนักบำรุงทาง กรมทางหลวงชนบท.
สรุปผู้ใช้บริการสายด่วน 1146 ช่วงมหาอุทกภัย 54 วันที่ 8 ตุลาคม – วันที่ 9 ธันวาคม 2554 (63 วัน ) สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท.
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
ผังงาน (Flow chart).
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถอดแบบและคำนวณ ปริมาณงานก่อสร้างทางหลวง โดย การถอดแบบและคำนวณ ปริมาณงานก่อสร้างทางหลวง โดย นายสมนึก เศียรอุ่น วิศวกรโยธาชำนาญการ ส่วนสำรวจและออกแบบ สำนักทางหลวงที่ 15

การถอดแบบและคำนวณ ปริมาณงานก่อสร้างทางหลวง แบบก่อสร้างทางหลวง สภาพพื้นที่ในสนาม ขั้นตอนวิธีการก่อสร้าง

หลักการในการออกแบบทางหลวง ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ประสิทธิภาพในการให้บริการ ความปลอดภัยของผู้ใช้ทาง

ปัจจัยพื้นฐานในการออกแบบทาง ปริมาณการจราจร มาตรฐานชั้นทาง การออกแบบรูปตัดทางหลวง การออกแบบแนวทางราบ แนวทางดิ่ง การออกแบบโครงสร้างชั้นทาง การออกแบบทางแยก การออกแบบงานระบายน้ำ งานอำนวยความปลอดภัยและงานอื่นๆ

การออกแบบรูปตัดทางหลวง ในการออกแบบจะพิจารณาจาก เขตทางหลวง - มีเขตทางเท่าไร เช่น 14, 20, 30, 40 ม. มาตรฐานทางหลวง - ชั้น พิเศษ ชั้น 1, 2, 3, 4 หรือ ชั้น 5 สภาพพื้นที่ ชุมชน - มีชุมชนหรือไม่ และมีขนาดของชุมชนเล็กหรือใหญ่ ระบบสาธารณูปโภค - มีระบบสาธารณูปโภค เช่น ประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ หรือไม่

การออกแบบรูปตัดของถนน (Cross-Section Element) องค์ประกอบของรูปตัดถนนประกอบด้วย 5. ลาดคันทาง (Side Slope) 6. ลาดดินตัดและดินถม 7. ร่องระบายน้ำข้างทาง (Side ditch) 8. เกาะกลาง (Median) 9. ทางเท้า (Side Walk) 1. คันทาง (Road Bed) 2. ช่องจราจร 3. ไหล่ทาง 4. ลาดหลังทาง (Crown Slope)

การออกแบบแนวทางราบและแนวทางดิ่ง พิจารณาจากมาตรฐานชั้นทาง ความเร็วออกแบบ สภาพพื้นที่ เช่น ที่ราบ ที่เนิน หรือภูเขา เป็นชุมชนหรือไม่ ระยะมองเห็นปลอดภัย - ระยะหยุดโดยปลอดภัย - ระยะแซงโดยปลอดภัย (Passing Sight Distance)

การออกแบบแนวทางราบ (Horizontal Alignment) เลือกแนวทางที่สั้นและไม่โค้งมาก หลีกเลี่ยงแนวทางที่ก่อสร้างยาก ค่าก่อสร้าง และค่าบำรุงรักษาสูง หลีกเลี่ยงทางตรงที่ยาวมากแล้วต่อด้วยโค้งสั้น ทางแยกของทาง 2 สายตัดกัน ไม่ควรทำมุมมากกว่า 60° ทางที่มีมุมหักเหของแนวทางน้อยกว่า 1° ไม่ต้องใส่โค้งราบ ทางที่ตัดกับลำน้ำ สะพานไม่ควรมีมุมตัดเฉียงมากกว่า 30°

ในทางโค้งใกล้กัน ควรออกแบบให้แล่นด้วยความเร็วเท่ากัน หลีกเลี่ยงโค้งอันตราย – Sharp Curve, Reversing Curve หลีกเลี่ยงสะพานในทางโค้ง ช่วงดินถมสูงและยาว ช่วงใกล้ทางแยก ทางรถไฟ ควรออกแบบโค้งรัศมียาวที่สุดเท่าที่ทำได้ พิจารณาระยะมองเห็นและหยุดโดยปลอดภัยตลอดเส้นทาง

DESCRIPTION OF QUANTITIES 1. REMOVAL OF EXISTING STRUCTURE 2. EARTH WORKS 3. SUBBASE AND BASE COURSE 4. SURFACE COURSE 5. STRUCTURE 6. MISCELLANNOUS 7. TRAFFIC MANAGEMENT DURING CONSTRUCTION

1.REMOVAL OF STRUCTURES 1.1 REMOVAL OF EXISTING SURFACE ROADWAY 1.2 REMOVAL OF EXISTING R.C. PIPE CULVERT 1.3 EDGE CUT OF EXISTING ASPHALT CONCRETE PAVEMENT

2. EARTH WORKS 2.1 CLEARING AND CRUBBING 2.2 ROADWY EXCAVATION 2.3 EMBANKMENT 2.4 SELECTED MATERIALS

3.SUBBASE AND BASE COURES 3.1.1 SOIL AGGREGATE SUBBASE 3.1.2 SOIL CEMENT SUBBASE 3.2 BASE COURSE 3.2.1 CRUSHED ROCK SOIL AGGREGATE TYPE BASE 3.2.2 CRUSH GRAVEL SOIL AGGREGATE TYPE BASE 3.2.3 CEMENT MODIFIED CRUSH ROCK BASE 3.2.4 PAVEMENT IN PLACE RECYCLING

4. SURFACE COURSE 4.1 PRIME COAT & TACK COAT 4.2 ASPHALT CONCRETE 4.3 PORTLAND CONCRETE PAVEMENT

5. STRUCTURES 5.1 CONCRETE BRIDGES 5.2 R.C. BOX CULVERTS 5.1.1 NEW R.C. BRIDGE 5.1.2 EXTENSION R.C. BRIDGE 5.1.3 WIDENING EXIST R.C. BRIDGE 5.2 R.C. BOX CULVERTS 5.2.1 NEW R.C. BOX CULVERT 5.2.2 EXTENSION OF EXISTING R.C. BOX CULVERT 5.2.3 R.C. BOX CULVERTS SIDE DRAINS

5. STRUCTURES 5.3 R.C. PIPE CULVERTS 5.3.1 NEW R.C. PIPE CULVERT CLASS 2 5.3.2 NEW R.C. PIPE CULVERT CLASS 3 5.3.2 RELOCATION OF EXISTING R.C. PIPE CULVERT

6. MISSELLANEOUS 6.1 SLOPE PROTECTION 6.2 MISCELLENEOUS STRUCTURE 6.1.1 CONCRETE SLOPE PROTECTION 6.1.2 RIPRAP SLOPE PROTECTION 6.1.3 GABIONS 6.2 MISCELLENEOUS STRUCTURE 6.2.1 R.C. MANHOLES 6.2.3 R.C. HEAD WALL (END WALL) 6.2.3 R.C. HEAD WALL (WING WALL)

6. MISSELLANEOUS 6.3 SIDE DITCH LINNING 6.4 RETAINING WALL 6.5 CONCRETE CRUB AND GUTTER 6.6 PAVING BLOCK 6.7 SODDING 6.8 TOPSOIL 6.9 GUARDRAIL 6.10 TRAFFIC SIGNS 6.11 ROADWAY LIGHTING 6.12 PAVEMENT MARKING

ตัวอย่าง การคำนวณปริมาณงาน