ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
สรุปประเภทของการวิจัย
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
สรุปประเภทของการวิจัย
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในสถาบันต่ออาจารย์ประจำ ทุกระดับ 1. จุดอ่อน อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระงาน.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การนำผลการวิจัยไปใช้
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
การแปลงนโยบาย สู่การปฏิบัติภาคปฏิบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ

การวิจัยในกระบวนการ พัฒนางานเชิงระบบ

System Approach :วิธีการเชิงระบบ วิเคราะห์ สภาพปัญหา ความต้องการจำเป็น ค้นหาทางเลือก วิธีการใหม่ๆ มาแก้ปัญหา ประเมิน ผลการดำเนินงาน วางแผน/จัดทำ แผนงาน โครงการ หลักสูตร ดำเนินการตามแผน -นิเทศ กำกับ ติดตาม -ประเมินความก้าวหน้า

ประเมินความต้องการจำเป็น บทบาทที่ 1 NEEDS ASSESSMENT ประเมินความต้องการจำเป็น

วิถีปฏิบัติของนักพัฒนา สังเกต/ วิเคราะห์ปัญหา Pre-test นวัตกรรม สังเกต/ วัด-ประเมิน สภาพปัญหา ครั้งใหม่ Post-test X 1 วิธีการใหม่ ๆ 2

เกิดงาน ประเภทวิเคราะห์ วิจัยเชิงสำรวจ ประเมินความต้องการจำเป็น เกิดงาน ประเภทวิเคราะห์ วิจัยเชิงสำรวจ ประเมินความต้องการจำเป็น เพื่อกำหนดนโยบาย จุดเน้น หรือทิศทางการพัฒนา

แนวปฏิบัติในการประเมิน ความต้องการจำเป็น NEEDS ASSESSMENT 1. ศึกษาปัญหา ความต้องการของลูกค้ากลุ่มต่าง ๆ 2. ประเมินศักยภาพขององค์กร -ศักยภาพของบุคลากร -ความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐานอื่นๆ -ระบบงาน/จุดเด่น-จุดด้อยของงานในระยะที่ผ่านมา

ปัญหา ความต้องการจำเป็นของ ลูกค้า/ผู้รับบริการจาก มทร. (Receiver Needs) ปัญหา /ความต้องการของสังคม ชุมชน ในเขตพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย ปัญหา ความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา หรือการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่บริการ

ประเภทลูกค้า Target Group Suspect Group Prospect Group First Time Customers Repeated Customers Chaired/Involvement Customers

ปัญหาของสถาบัน/จุดอ่อน ข้อจำกัดสถาบัน (Provider Needs) บุคลากร....ความรู้ ความสามารถ ความมุ่งมั่น ปัจจัยอื่น ๆ ระบบงานของสถาบัน รูปแบบการบริหารจัดการ ระบบฐานข้อมูล ระบบบริการต่าง ๆ

หลังจากทราบสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการจำเป็นเร่งด่วน แล้ว ก็เข้าสู่บทบาทที่ 2 ของนักพัฒนา

บทบาทที่ 2 ALTERNATIVES OR SOLUTIONS พัฒนาทางเลือก หรือวิธีการใหม่ ๆ มาใช้ในการยกระดับคุณภาพงาน

เกิดงานวิจัย ประเภทการวิจัยและพัฒนา Research and Development R & D ได้ทางเลือกใหม่ ๆ ในการยกระดับคุณภาพงาน หลักสูตรใหม่ๆ

วิถีปฏิบัติของนักพัฒนา ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์ สังเกต/ วิเคราะห์ปัญหา Pre-test นวัตกรรม สังเกต/ วัด-ประเมิน สภาพปัญหา ครั้งใหม่ Post-test X โครงการ 1 2 วิธีการใหม่ ๆ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

วิจัยและพัฒนานวัตกรรม 1. สื่อ /คู่มือ/ชิ้นงาน/สิ่งประดิษฐ์ Materials 2. รูปแบบ/วิธีการ/กระบวนการ ในการปฏิบัติงาน Process/Procedure/Style

ตัวอย่างงานวิจัยประเภท R&D ความเจริญก้าวหน้าขององค์กร ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถในการ วิจัยและพัฒนา ตัวอย่างงานวิจัยประเภท R&D

การพัฒนาเอกสารเสริมความรู้ ชุด การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน คู่มือ การดูแลสุขภาพในครอบครัว มาตรฐานสุขภาพสำหรับ ครอบครัวไทย รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน

พัฒนาคู่มืออาจารย์ มหาวิทยาลัย... การพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่า มหาวิทยาลัย....................... การพัฒนาระบบสำนักงานอัตโนมัติ มหาวิทยาลัย...

โปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ CAI/ชุด e-Learning ตำรา ชุดวิชา แฟ้มภาพทางการศึกษา โปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ ฯลฯ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โครงงานในชุมชน Community-Based Project Learning

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเว็บไซด์ วิชา............................. ผลงาน R & D ทรัพย์สินทางปัญญา

บทบาทที่ 3 วางแผน จัดทำแผนงาน/โครงการ/หลักสูตร PLANNING วางแผนอย่างมีคุณภาพ

งานวิจัย ประเภทศึกษาความเป็นไปได้ ของนโยบาย /แผนงาน /โครงการ/หลักสูตร 1. ตรวจสอบในด้านความสอดคล้องกับปัญหา ความต้องการจำเป็น ความชัดเจนของจุดประสงค์ 2. ศึกษาความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐานเพื่อการดำเนินงาน

การศึกษาความเป็นไปได้ของหลักสูตรใหม่ ควรศึกษาในประเด็นต่าง ๆ อาทิ ความต้องการของตลาดแรงงาน/ความสอดคล้องกับปัญหาของประเทศ ความสนใจ/ความต้องการของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย ความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐานของสถาบัน

บทบาทที่ 4 IMPLEMENTATION ดำเนินการตามแผน จนแล้วเสร็จ

ดำเนินการตามแผน อย่างมีประสิทธิภาพ นิเทศ กำกับ-ติดตามงาน อย่างต่อเนื่อง สมํ่าเสมอ จัดให้มีการประเมินความก้าวหน้าเป็นระยะ ๆ ผลงาน

ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ วิจัยเชิงประเมิน ประเภทประเมินความก้าวหน้า ประเมินสรุปผลการดำเนินงาน และ การติดตามผล/ประเมินผลกระทบ Evaluation Research ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ

ประเมินความก้าวหน้าโครงการ... ประเมินผลการฝึกอบรมหลักสูตร…... ติดตามบัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษา สาขา............. ศึกษาผลกระทบการฝึกอบรมหลักสูตร... ฯลฯ

ในวงจรการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ เกิดงานวิจัยในลักษณะใดบ้าง เชิญช่วยกันสรุปครับ ทำอย่างไรจึงจะเกิดงานวิจัย

หลักการและแนวปฏิบัติ ในการส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและพัฒนา เรื่อง หลักการและแนวปฏิบัติ ในการส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและพัฒนา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อตนเอง ชุมชน และการศึกษาในท้องถิ่น

แนวปฏิบัติในการวิจัยและพัฒนา ให้เกิดประสิทธิภาพต่อตนเองและ ต่อชุมชนในเขตพื้นที่บริการ สร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับการวิจัยตามภาระหน้าที่ การบริหารงานในเชิงระบบและลักษณะการวิจัยที่ควรดำเนินการในกระบวนการพัฒนางาน วิเคราะห์แยกแยะกลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มลูกค้าของสถาบันที่สำคัญ ๆ ในท้องถิ่นหรือในชุมชน สำรวจปัญหา/ความต้องการจำเป็นของลูกค้ากลุ่มต่าง ๆ รวมทั้งปัญหาของสถาบันเอง

4. เน้นการวิจัยและพัฒนา เพื่อพัฒนางานของสถาบัน ของชุมชน และของสถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ รวมทั้งให้ความสำคัญกับการวิจัยเชิงประเมินเพื่อประเมินความก้าวหน้า ประเมินสรุปผล หรือติดตามผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว 5. ใช้กระบวนการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเป็นกลไก/เครื่องมือในการวิจัยและพัฒนา ทั้งพัฒนางานของสถาบัน และพัฒนางานขององค์กร/ชุมชน ในเขตพื้นที่บริการของสถาบัน(เน้นให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทำการศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนางานในบทบาทหน้าที่ขององค์กรที่ตนสังกัด)

6. อาจารย์ผู้สอนในระดับบัณฑิตศึกษา ควร พัฒนาชุดโครงการวิจัย ตามความถนัดและความสนใจของตน(ในสาขาที่เชี่ยวชาญ) แล้วให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาร่วมรับผิดชอบงานวิจัยย่อย ๆ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยขนาดใหญ่

กระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน ชุดโครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบและ กระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน

ชุด พัฒนามาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือเด็กในชุมชน มาตรฐานงานด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา มาตรฐานการบริหารจัดการหลักสูตรสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก

7. จัดให้มีการพัฒนาระบบฐานขอมูลงานวิจัยเพื่อพัฒนาตนเอง /ชุมชน/สังคม/การศึกษาในท้องถิ่น เพื่อการสืบค้นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน 8. จัดให้มีการประชุมเสนอผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาตนเอง ชุมชน การศึกษาในท้องถิ่น ในรอบปี โดยมีปฏิทินที่ชัดเจนและเป็นที่รับทราบตรงกัน

9. เน้นปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 9. เน้นปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม -ร่วมระหว่างคณาจารย์ของสถาบันเพื่อทำการวิจัย(สร้างองค์ความรู้ ควบคู่กับการสร้างนักวิจัยใหม่) -ร่วมกับองค์กรหรือบุคลากรในเขตพื้นที่บริการ(เพื่อบริการทางวิชาการ เพื่อสร้างเครือข่ายนักวิจัยในเขตพื้นที่/สร้างเครือข่ายนักพัฒนาในเขตพื้นที่)

10. ในกระบวนการทำงานควรมี "Political Concern" 11. อื่น ๆ