และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการผลการดำเนินงานองค์กร
Advertisements

นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
ลำดับที่ แผนงาน/โครงการ พื้นที่เป้าหมาย (อำเภอ) เป้าหมาย (หน่วยนับ)
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ประจำปี 2557
สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์นครพนม
LOGO รายงานผลการ ดำเนินงานที่สำคัญ ในพื้นที่ปศุสัตว์เขต 6.
น.สพ.นิเทศ เลิศลิมชลาลัย
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
ผลการปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
นำเสนอเรื่อง ก๊าซชีวภาพจากมูลสุกร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
ข้อมูลค่าซ่อมแซมยานพาหนะ ( ) สำหรับรถยนต์อายุการใช้งาน 14 ปีขึ้นไป
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 49/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษประเภทการเลี้ยงสุกร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 พฤศจิกายน 2554.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
************************************************
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ. หนองวัวซอ จ
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
โครงการศึกษาเศรษฐกิจ การผลิตและการตลาดไหมไทย
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การมอบหลักปฏิบัติงาน
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
โดย กลุ่มแผนงานและประเมินผล plan & Evaluate. งบได้รับทั้งปี 14,692, บาท ตั้งแต่ ตค.56 – กย.57 ใช้ไป 14,549, บาท คงเหลือ 143, บาท.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ ผลการปฏิบัติงาน ปี 54 และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ นายสัตวแพทย์ จีระศักดิ์ พิพัฒนพงศ์โสภณ ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ http://www.dld.go.th/biotech/

หัวข้อการนำเสนอ สรุปผลการปฏิบัติงานตามกิจกรรม ปีงบประมาณ 2554 ข้อมูลจาก TLPS แผนการดำเนินงานและเป้าหมาย ตามกิจกรรม ปีงบประมาณ 2555 โครงการใหม่ “โครงการเร่งรัดการผลิตโคเนื้อด้วย วิธีการผสมเทียม”

สรุปผลงานรายกิจกรรม ปี 54 ผลงานการปฏิบัติงาน ต.ค.-ก.ค.54 (83%) บริการผสมเทียม ลูกเกิดจากการผสมเทียม รวมทั้งหมด (คิดเป็น %) 89 94 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ สระบุรี 81 74 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ ชลบุรี 93 86 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ นครราชสีมา 100 96 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ ขอนแก่น 84 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ เชียงใหม่ 103 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ พิษณุโลก 75 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ ราชบุรี 87 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ สุราษฎร์ธานี 77 101 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ สงขลา 114 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมฯ อุบลราชธานี 98 113 ศูนย์ผลิตน้ำเชื้อสุกร 90 แหล่งข้อมูล : รายงาน TLPS 01/08/2554

สรุปผลงานรายกิจกรรม ปี 54(ต่อ) ผลิตน้ำเชื้อแช่แข็ง ผลงานการปฏิบัติงาน ต.ค.-ก.ค.54 (83%) ชนิดสัตว์ แผน ผลงาน คิดเป็น % รวม: 832,120 813,678 98 โคนม 311,350 412,665 133 โคเนื้อ 509,770 380,993 75 แพะ 6,000 13,152 219 สุกร 5,000 6,868 137

2. ลูกเกิดจากการผสมเทียม แผนการดำเนินงาน ปี 2555 กิจกรรมหลัก : พัฒนาปรับปรุงพันธุ์สตว์ มี 4 กิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย : 1.ขยายพันธุ์สัตว์พันธุ์ดีด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ ชนิดสัตว์ 1. บริการผสมเทียม 2. ลูกเกิดจากการผสมเทียม (จำนวนตัว) โคนม 161,200 96,720 โคเนื้อ 250,000 150,000 กระบือ 10,500 6,300 สุกร 5,000 40,000 แพะ 2,000 1,200 รวม 428,700 294,220

แผนการดำเนินงาน ปี 2555 (ต่อ) กิจกรรมย่อย : 2.เร่งรัดการผลิตโคเนื้อคุณภาพโดยวิธีการผสมเทียม 1. จำนวนผสมเทียมแม่โคด้วยพันธุ์โคเนื้อคุณภาพ จำนวน 100,000 แม่ 2. จำนวนลูกเกิดตัวผู้โคเนื้อคุณภาพดี จำนวน 30,000 ตัว กิจกรรมย่อย : 3.พ่อโคนมพันธุ์ทรอปิคอลโฮลสไตน์ ผลผลิต : พ่อพันธุ์โคนมชั้นเลิศ กิจกรรมย่อย : 4. สร้างพันธุ์โคเนื้อคุณภาพไทย-แบล็ค ผลผลิต :พ่อโคพันธุ์ไทยแบล็คที่สามารถผลิตน้ำเชื้อเพื่อกระจายสู่เกษตรกร

เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ต้องผสมพันธุ์เพื่อจะได้ลูก โคเนื้อ   เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ต้องผสมพันธุ์เพื่อจะได้ลูก ลูกสัตว์หากเกิดจากการผสมเทียมจะมีราคาสูงกว่าลูกสัตว์ที่เกิดจากการใช้พ่อพันธุ์คุมฝูง ลูกสัตว์ที่เกิดจากการผสมเทียมมีมูลค่ามากกว่าลูกผสมจริง ประมาณ 3,000 – 4,000 บาท ทำอย่างไรให้เกษตรกรใช้บริการผสมเทียมมากขึ้น เจ้าหน้าที่ต้องทำงานเชิงรุก และภาครัฐมีการประชาสัมพันธ์มากยิ่งขึ้น   04/04/60

โครงการใหม่(โครงการเร่งรัดการผลิตโคเนื้อคุณภาพด้วยวิธีการผสมเทียม) จัดตั้งกลุ่มผสมเทียมรายชนิดสัตว์เพี่อเจ้าหน้าที่มีเป้าหมายชัดเจนในการออกทำงาน ให้บริการเกษตรกร กลุ่มจะเกิดผลผลิตทั้งปริมาณ(จำนวนลูกที่เกิด) + คุณภาพ (ลูกสัตว์พันธุ์ดีที่เกิด)   โครงการใหม่(โครงการเร่งรัดการผลิตโคเนื้อคุณภาพด้วยวิธีการผสมเทียม)   ต้องการ 1 กลุ่มมีเกษตรกรไม่น้อยกว่า 25 รายหรือ มีโคเนื้อรับบริการผสม เทียมไม่น้อยกว่า 25 ตัว และพันธุ์ที่เน้น คือ ชาร์โรเลย์, แองกัส  

แม่โคเนื้อกับเป้าหมายผสมเทียม ปี 54 ศูนย์วิจัยฯ ของ สทป. แม่โคเนื้อวัยผสมพันธุ์ โคพื้นเมือง โคพันธุ์และโคลูกผสม โคพื้นเมือง+ลูกผสม เป้าหมาย 54 % ของแม่โครวม ยอดรวม : 977,482 526,562 1,504,044 254,885 16.9 ศูนย์วิจัยฯ สระบุรี 34,695 41,626 76,321 9,780 12.8 ศูนย์วิจัยฯ ชลบุรี 30,551 17,836 48,387 4,130 8.5 ศูนย์วิจัยฯ นครราชสีมา 162,139 86,336 248,475 28,300 11.4 ศูนย์วิจัยฯ ขอนแก่น 184,057 133,462 317,519 52,900 16.7 ศูนย์วิจัยฯ เชียงใหม่ 126,930 33,357 160,287 23,100 14.4 ศูนย์วิจัยฯ พิษณุโลก 62,321 45,098 107,419 23,170 21.6 ศูนย์วิจัยฯ ราชบุรี 87,216 80,434 167,650 23,450 14.0 ศูนย์วิจัยฯ สุราษฎร์ธานี 35,909 18,014 53,923 20,635 38.3 ศูนย์วิจัยฯ สงขลา 78,941 8,333 87,274 13,600 15.6 ศูนย์วิจัยฯ อุบลราชธานี 174,723 62,066 236,789 55,820 23.6

โครงการเร่งรัดการผลิตโคเนื้อคุณภาพสูง โดยวิธีการผสมเทียม เพื่อยกระดับคุณภาพการผลิตโคเนื้อคุณภาพและเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรรายย่อยผู้เลี้ยงโคเนื้อ เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดโคเนื้อคุณภาพที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติผู้บริโภค ให้นิยมบริโภคเนื้อคุณภาพเพิ่มขึ้น 04/04/60

ผสมเทียมแม่โคพื้นฐาน 100,000 แม่ เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2555 ผสมเทียมแม่โคพื้นฐาน 100,000 แม่ ลูกเกิดโคผู้ โคเนื้อคุณภาพดี 30,000 ตัว

เป้าหมายกลุ่มผู้รับประโยชน์ เกษตรกรกลุ่มผสมเทียมโคเนื้อคุณภาพ (ต้นน้ำ) เกษตรกรกลุ่มโคเตรียมขุน (กลางน้ำ) เกษตรกรกลุ่มโคขุน (ปลายน้ำ) ผู้ประกอบการเนื้อโคคุณภาพ ผู้บริโภคเนื้อโคคุณภาพ

สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ ขอขอบคุณ และสวัสดี สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ http://www.dld.go.th/biotech/