นโยบายองค์การ Organisation Policy
นโยบาย (Policy) แนวทางอย่างกว้างที่อาศัย สาระสำคัญของพันธะกิจ (Mission and Commitment) ผ่านกระบวนการตัดสินใจ ที่จะใช้เป็นเครื่องมือชี้นำการกระทำต่างๆไปสู่ผลสำเร็จ ตามภาระกิจที่วางไว้
Policy Vision Decision Marking Attitude Strategic Mission and Commitment Policy Decision Marking
แนวทางที่ช่วยกำกับ และนำกิจกรรมขององค์การมุ่งสู่เป้าหมาย คุณลักษณะของนโยบาย แนวทางที่ช่วยกำกับ และนำกิจกรรมขององค์การมุ่งสู่เป้าหมาย ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับควบคุมพฤติกรรม ใช้เป็นเครื่องช่วยในการตัดสินใจ ช่วยให้เกิดความมั่นใจ และช่วยประกันพฤติกรรมต่างๆเป็นรูปแบบเดียวกัน
Source of Plicy Top Down Bottom Up Implied Policy
ประโยชน์ของการใช้นโยบาย 1. ดำเนินการ และแก้ไขปัญหา ดำเนินไปในทิศทางเดียว 2. สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ 3. โอกาสที่จะวิเคราะห์ สถานการณ์,ข้อเท็จจริง และสิ่งแวดล้อม ที่มีผลกระทบต่อองค์การ 4. เป็นเครื่องช่วยในการบังคับบัญชา 5. เป็นแนวทางช่วยในการจัดทำแผนงาน
THE POLICY PROCESS Formulation Control / Review Dissemination Interpretation PROCESS Communication Application Acceptance
6. เหมาะสม (Suitable) และรัดกุม (Well-Cover) หลักการกำหนดนโยบาย ต้องอยู่บนพื้นฐานข้อเท็จจริง กรณีนโยบายย่อย ต้องสนับสนุนนโยบายหลัก ประสาน และเข้าได้เป็นอย่างดี กับสภาพองค์การ ชัดเจน เข้าใจง่าย และเป็นลายลักษณ์อักษร มีความแน่นอน (Stable) และคล่องตัว(Adaptable) 6. เหมาะสม (Suitable) และรัดกุม (Well-Cover)
หลักข้อที่ 3. ตัวอย่าง ฝ่ายขาย และฝ่ายออกแบบต้องการให้มีการเปลี่ยนแบบผลิตภัณฑ์บ่อยครั้ง แต่ฝ่ายผลิตกลับต้องการให้มีการเปลี่ยนน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อประหยัดต้นทุน กรณีนี้ความขัดแย้งด้านนโยบายย่อมเกิดขึ้น ทุกฝ่ายต่างมีส่วนรับผิดชอบที่ต้องทำให้องค์การโดยส่วนรวมได้ผลสำเร็จสูงสุด (Organization Optimization) นโยบายทุกฝ่ายควรมีความสัมพันธ์ในลักษณะที่เข้ากันได้ดี ซึ่งจะเกิดผลประโยชน์ตามสมควร (Sub optimization)
1. จะต้องมีการประเมินผล และ ทบทวนวัตถุประสงค์องค์การก่อน ปัจจัยที่ควรคำนึง 1. จะต้องมีการประเมินผล และ ทบทวนวัตถุประสงค์องค์การก่อน 2. ตระหนักถึงภาพพจน์ และ ความรับผิดชอบต่อสังคม 3. ปัจจัยที่เกี่ยวกับโครงสร้างองค์การ 4. นโยบายคู่แข่ง 5. สภาพแวดล้อมขององค์การ
กลยุทธ์ Strategy การแปรเปลี่ยนทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้เป็นข้อได้เปรียบ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ หนึ่ง หรือ หลายประการ มี ความเสี่ยงที่น้อยที่สุด ณ ระดับที่ยอมรับได้ ส่วนผสมของเป้าหมาย และนโยบายหลัก
กระบวนการพิจารณาจัดวางกลยุทธ์ 1. การพิจารณา โอกาสและข้อจำกัด 2. การประเมินทรัพยากรที่มีอยู่ 3. การพัฒนาเลือกกลยุทธ์ 4. การกำหนดกลยุทธ์หลัก 5. การดำเนินตามกลยุทธ์ 6. การประเมินกลยุทธ์
การพิจารณาโอกาส และข้อจำกัดที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อม กระบวนการพิจาณาจัดวางกลยุทธ์ การพิจารณาโอกาส และข้อจำกัดที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อม พัฒนาทางเลือกกลยุทธ์ การดำเนินตามกลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ การประเมินทรัพยากรที่มีอยู่ขององค์การ การประเมินกลยุทธ์
การมุ่งเฉพาะส่วน (Concentration) กลยุทธ์การเติบโต Growth Strategy การมุ่งเฉพาะส่วน (Concentration) การผสานแนวดิ่ง (Vertical Integration) การผสานแนวนอน (Horizontal integration) การกระจายธุรกิจ (Diversification) กลยุทธ์แนวร่วม (Consolidation)
Retrenchment Strategy ประเภทของกลยุทธ์ 2. กลยุทธ์การคงตัว 3. กลยุทธ์การหดตัว Retrenchment Strategy 4. กลยุทธ์ผสม
Retrenchment Strategy กลยุทธ์การหดตัว Retrenchment Strategy กลยุทธ์มองดูรอบด้าน (Turn around) กลยุทธ์เก็บเกี่ยวผลประโยชน์ (Harvest) กลยุทธ์ไม่ลงทุน (Divestiture) กลยุทธ์การล้มละลาย (Bankruptcy) กลยุทธ์การเลิกดำเนินการ (Liquidation)
ดำเนินการเพื่อความอยู่รอด ประเภทของกลยุทธ์ 1. กลยุทธ์การเติบโต Growth Strategy ดำเนินการเพื่อความอยู่รอด องค์การขนาดเล็กศักยภาพการแข่งขันต่ำ ส่งเสริมบุคคลิกภาพ และเป้าหมายสำหรับผู้บริหารระดับสูง ปัญหาวงจรผลิตภัณฑ์ และบริการ ที่สั้นลง