การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน สำนักงาน ก.พ.
พระราชบัญญัติเงินเดือนและ เงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2538 กฎหมายกำหนดเงินประจำตำแหน่ง พระราชบัญญัติเงินเดือนและ เงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2538 พระราชกฤษฎีการการได้รับ เงินประจำตำแหน่งของข้าราชการฯ พ.ศ. 2538 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
การได้รับเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน ระดับ 11 21,000 ประเภทบริหาร ระดับ 10 14,500 ระดับ 9 10,000 ระดับ 8 5,600 ระดับ 11 15,600 ระดับ 10 13,000 ระดับ 9 9,900 ระดับ 7 3,500 ประเภทวช. /ชช. ตำแหน่งประเภทบริหาร 1) บริหารระดับสูง ระดับ 9 ขึ้นไป ได้แก่ ผอ.สำนัก ,รองอธิบดี ,อธิบดี ,รองปลัดฯ ,ปลัดกระทรวง หรือเทียบเท่า 2) บริหารระดับกลาง ระดับ 8 ได้แก่ ผอ.กอง หรือเทียบเท่า
การได้รับเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน ระดับ 11 21,000 ประเภทบริหาร ระดับ 10 14,500 ระดับ 9 10,000 ระดับ 8 5,600 ระดับ 11 15,600 ระดับ 10 13,000 ระดับ 9 9,900 ระดับ 7 3,500 ประเภทวช. /ชช. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ ระดับ 7 ขึ้นไป 1) ต้องมีปริญญา /มีผลกระทบต่อชีวิต /มีองค์กรวิชาชีพ เช่น แพทย์ วิศวกรเครื่องกล 2) ต้องมีปริญญา /มีผลกระทบต่อชีวิต /ขาดแคลน เช่น รังสีการแพทย์ วิศวกรนิวเคลียร์ 3) ต้องมีปริญญา /วิทยาศาสตร์เชิงวิจัยพัฒนา /ขาดแคลน เช่น คอมพิวเตอร์
การได้รับเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน ระดับ 11 21,000 ประเภทบริหาร ระดับ 10 14,500 ระดับ 9 10,000 ระดับ 8 5,600 ระดับ 11 15,600 ระดับ 10 13,000 ระดับ 9 9,900 ระดับ 7 3,500 ประเภทวช. /ชช. ตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ ระดับ 9 ขึ้นไป ต้องใช้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านตามที่กำหนด
การได้รับเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน ต้องดำรงตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับ ปตน. และปฏิบัติหน้าที่หลักของตำแหน่ง มิได้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งที่ตนดำรงอยู่ ไม่มีสิทธิได้รับ ปตน. เว้นแต่ ได้รับคำสั่งให้ไปปฏิบัติหน้าที่อื่น ที่มีลักษณะงาน วช. หรือ ชช. เหมือนหน้าที่เดิม ปฏิบัติหน้าที่หลักของตำแหน่งนั้นไม่เต็มเดือน ให้ได้รับ ปตน. ตามส่วนจำนวนวันที่ได้ดำรงตำแหน่ง และปฏิบัติหน้าที่หลักของตำแหน่ง
การได้รับเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน ปฏิบัติหน้าที่หลักเกิน 1 ตำแหน่ง ให้รับ ปตน. สำหรับตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับ ปตน. สูงสุดเพียงตำแหน่งเดียว ไปปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งประเภทเดียวกันที่มีสิทธิได้รับ ปตน. ให้ได้รับ ปตน. ตามอัตราเดิมของตนต่อไป ได้รับคำสั่งให้ไปปฏิบัติหน้าที่ หรือรักษาราชการแทน หรือรักษาการ ในตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่งต่างประเภท ให้ได้รับ ปตน. ในอัตราของตำแหน่งเดิมต่อไป ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 6 เดือน
กฎหมายกำหนดเงินประจำตำแหน่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2538 พระราชบัญญัติเงินเดือนและ เงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. 2538 กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญ ได้รับเงินประจำตำแหน่งพ.ศ. .... พระราชกฤษฎีการการได้รับ เงินประจำตำแหน่งของข้าราชการฯ พ.ศ. 2538 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2538 มาตรา 50 . . . ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับ เงินประจำตำแหน่ง ตามบัญชีอัตราเงินเประจำตำแหน่ง ของ ขรก.พลเรือนสามัญท้าย พรบ.นี้ในอัตราใด ให้เป็นไปตามที่กำหนดใน กฏ ก.พ.
หลักการของร่างกฎ ก.พ. คงสิทธิการได้รับเงินประจำตำแหน่ง ไม่เพิ่มจำนวนตำแหน่งที่มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง ไม่สร้างความเหลื่อมล้ำกับ ขรก. ที่ได้ เงินประจำตำแหน่งเดิม ไม่ใช้งบประมาณเพิ่มขึ้น
ประเภททั่วไป (เฉพาะสายงานที่กำหนด) ระดับสูง 21,000 14,500 ระดับต้น 10,000 ประเภทบริหาร ระดับ 11 21,000 ประเภทบริหาร ระดับ 10 14,500 ระดับ 9 10,000 ระดับ 8 5,600 ระดับ 11 15,600 ระดับ 10 13,000 ระดับ 9 9,900 ระดับ 7 3,500 ประเภทวช. /ชช. ระดับสูง 10,000 ระดับต้น 5,600 ประเภทอำนวยการ ทรงคุณวุฒิ 15,600 13,000 เชี่ยวชาญ 9,900 ชำนาญการพิเศษ 5,600 ชำนาญการ 3,500 ทักษะพิเศษ 9,900 ประเภทวิชาการ (เฉพาะสายงานที่กำหนด) ประเภททั่วไป (เฉพาะสายงานที่กำหนด) ต้องมีเงื่อนไขเพิ่ม ไม่ต้องมีเงื่อนไขเพิ่ม
ปลัดกระทรวง หรือเทียบเท่า ระดับสูง 21,000 14,500 ทรงคุณวุฒิ 15,600 13,000 ชำนาญการ 3,500 ประเภทวิชาการ ประเภทบริหาร ปลัดกระทรวง หรือเทียบเท่า ดำรงตำแหน่งระดับ 10 หรือระดับทรงคุณวุฒิมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 1 ปี ในสายงานตามที่ ก.พ. กำหนด ก.พ. พิจารณาว่า เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และผลงานเป็นที่ประจักษ์ ยอมรับในระดับนานาชาติ ต้องตัดสินใจ แก้ปัญหาทางวิชาการที่ยากซับซ้อนมากเป็นพิเศษและมีผลกระทบในวงกว้างระดับนานาชาติ ดำรงตำแหน่งระดับ 6 หรือระดับชำนาญการ มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี ในสายงานตามที่ ก.พ. กำหนด
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขอื่นๆ กำหนดเทียบเคียงกับหลักเกณฑ์เดิม