อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของเจ้าพนักงานสรรพสามิต ควบคุมโรงงานสุรา โดย สมพงศ์ ทองแป้น
วิธีการจัดเก็บภาษีสุรา 1. สุราที่ทำในราชอาณาจักร 2. สุราที่นำเข้ามาในราชอาณาจักร 3. การทำสุราสำหรับใช้ในบ้านเรือน
วิธีการควบคุมการจัดเก็บภาษี 1. ใช้เจ้าหน้าที่ควบคุมอยู่ประจำโรงงาน 2. ใช้เครื่องหมายแสดงการเสียภาษี 2.1 แสตมป์ การปิดและขีดฆ่าแสตมป์สุรา - การปิดจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้ปิดครบถ้วนตามอัตราภาษีและได้ขีดฆ่าแสตมป์แล้ว - ใช้กาวทาหลังดวงแสตมป์แล้วปิดคร่อมปากภาชนะอย่างแนบแน่นจนไม่สามารถแกะออกได้ และอยู่ในสภาพที่จะต้องถูกทำลายทันทีเมื่อเปิดภาชนะบรรจุสุรานั้น 2.2 ใช้สิ่งผนึกภาชนะจดทะเบียน หรือสิ่งผนึกภาชนะของทางราชการ 2.3 ใช้ตราของทางราชการประทับ 3. ใช้มาตรวัดและวิธีทิ้งดิ่งเพื่อตรวจสอบการเสียภาษี 4. การบัญชี
การขนสุราที่ยังไม่เสียภาษีออกจากโรงงานสุรา กรมสรรพสามิตซึ่งมีหน้าที่เก็บภาษีสุราจึงมีวิธีการปราบปราม ทำและการค้าสุราเถื่อนมิให้ลุกลามแพร่หลายมากมายไปได้ นั่นคือ 1. การปราบปรามโดยตรง 2. การป้องกัน
การขนสุราที่เสียภาษีแล้วออกจากโรงงานสุรา 1. การกำหนดให้มีใบอนุญาตขนสุราเป็นการติดตาม ดูแลน้ำสุราตั้งแต่ออกจากโรงงานสุรา 2. สุราเป็นสินค้าที่ควบคุมการทำ การขาย การได้มา และการครอบครองโดยออกกฎหมายไว้ 3. สะดวกในการตรวจปราบปราม 4. เพื่อคุ้มครองผู้กระทำการโดยสุจริต 5. การมีใบอนุญาตขนสุราเป็นหลักฐานในการซื้อขาย และหลักฐานทางบัญชี
วัตถุประสงค์ของการมีเจ้าหน้าที่ ควบคุมโรงงานสุรา 1. เพื่อติดตามการดำเนินงานของผู้มีหน้าที่เสียภาษีอย่างใกล้ชิด 2. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เสียภาษี 3. เพื่อป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษี
เหตุที่ต้องกำหนดระเบียบแยกสุรากลั่นและสุราแช่ 1. ความแตกต่างในขบวนการผลิต 2. ความเข้มงวดในการควบคุม 3. วิธีการเสียภาษี 4. อัตราภาษี 5. แนวโน้มในการหลีกเลี่ยงภาษี
สถานภาพทางกฎหมายของผู้ควบคุม 1. ระเบียบกรมสรรพสามิต ว่าด้วยการควบคุมโรงงานสุรากลั่น พ.ศ. 2533 2. ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง แต่งตั้งเจ้าพนักงานสรรพสามิต พนักงานเจ้าหน้าที่ และเจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ยาสูบ และไพ่ พ.ศ. 2547 3.เจ้าพนักงานตาม มาตรา 28,29
หน้าที่และความรับผิดชอบ 1. ควบคุมการรับ – จ่ายวัตถุดิบ(กากน้ำตาล) - การรับวัตถุดิบ - การจ่ายวัตถุดิบ - วัตถุดิบคงเหลือ 2. ควบคุมการหมักส่า - การใช้วัตถุดิบ - ระยะเวลาหมักส่า - กรรมวิธีการหมักส่า
3. ควบคุมการต้มกลั่นสุรา - ตรวจสอบแรงแอลกอฮอล์ที่กลั่นได้ - รับน้ำสุราที่กลั่นได้ - กรรมวิธีการกลั่น 4. ควบคุมการเก็บรักษาน้ำสุราที่ยังไม่บรรจุภาชนะ - รับน้ำสุราเข้าถัง - การปรุงแต่งน้ำสุราตามดีกรีที่ต้องการ เพื่อนำไปบรรจุภาชนะออกจำหน่าย 5. ควบคุมการบรรจุภาชนะและปิดแสตมป์สุรา - จ่ายน้ำสุราจากถังเก็บสุรา - บรรจุภาชนะ - ปิดฉลาก - ปิดแสตมป์สุรา
6. ควบคุมการเก็บรักษาสุราที่บรรจุภาชนะแล้ว - เก็บไว้ในอาคารเก็บสุราสำเร็จรูป - ใส่กุญแจที่บานประตู ผู้ควบคุมโรงงาน 1 ที่ ผู้เสียภาษี 1 ที่ 7. ควบคุมการขนสุราสำเร็จรูปออกไปจำหน่าย - ผู้เสียภาษียื่นเรื่องราวขอใบอนุญาตขนสุรา - ตรวจสอบจำนวนและชนิดสุราที่ปิดแสตมป์ถูกต้องครบถ้วน - ออกใบอนุญาตขนสุรา 8. ควบคุมการรับแสตมป์สุราจากสำนักงานสรรพสามิตพื้นที่มาเก็บไว้ที่โรงงานสุรา - ผู้เสียภาษียื่นเรื่องราวขอรับแสตมป์ - ตรวจสอบจำนวนแสตมป์สุราที่จะขอรับ - ควบคุมการรับแสตมป์สุรามาเก็บไว้ที่โรงงานสุรา
9. การจัดทำงบเดือน - การทำสุรา แบบ ส. 201 - วันรับราชการ แบบ ส.ส.2/23 - รับ – จ่าย และแสตมป์สุราคงเหลือ - สำเนาบันทึกการตรวจราชการโรงงานสุรา - ส่งเงินค่าธรรมเนียมการทำการนอกเวลา
สวัสดีครับ