การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง และตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงการ
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
นำเสนอเรื่อง ก๊าซชีวภาพจากมูลสุกร
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้
G Garbage.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
เกณฑ์ปฏิบัติสำหรับบริเวณที่นำมูลไปใช้ประโยชน์
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
นโยบายพลังงาน - ปตท. และ ก๊าซ CBG 4. ประเทศไทยมีการพึ่งพาการนำเข้าด้านพลังงานอยู่ใน ระดับสูงและมีจุดอ่อนหลายประการ.
นโยบายพลังงาน - ปตท. และก๊าซ CBG 3 ประเทศไทยมีวิกฤติด้านพลังงานเพราะต้องนำเข้าจาก ต่างประเทศ ประเทศไทยมีประชากร ส่วนใหญ่มีรายได้จากภาค การเกษตร ดำเนินการผลิตสินค้าขั้นปฐม.
ข้อกำหนดท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมสถานประกอบกิจการ และการประกอบกิจการ รับซื้อ สะสมยางก้อน หรือยางก้อนถ้วย.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดมาตรฐานค่าความทึบแสงของเขม่าควันจากสถานประกอบกิจการที่ใช้ หม้อไอน้ำ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
RDF/ MSW Industry for Thailand
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลบางพระเหนือ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย เลี่ยน อุ่นสุข เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ โดย กรมควบคุมมลพิษ นำเสนอโดย นายวรวุฒิ นำสุวิมลกุล

บทนำ ปัจจุบันการเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยมีการขยายตัวอย่างมาก โดยเฉพาะสุกรซึ่งเป็นสัตว์ที่ประชากรคนไทยนิยมบริโภคมากเป็นอันดับหนึ่ง มีผลทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรเพิ่มทั้งปริมาณสุกรและจำนวนฟาร์มสุกร ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากมูลและของเสียต่าง ๆ ตลอดจนทำให้เกิดก๊าซแอมโมเนีย และไฮโดรเจนซัลไฟด์ทำให้เกิดมลภาวะต่อฟาร์มสุกร และชุมชนใกล้เคียง ระบบก๊าซชีวภาพเป็นระบบกำจัดของเสียที่เหมาะสมสำหรับใช้แก้ปัญหามลภาวะดังกล่าว ระบบก๊าซชีวภาพเป็นการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการกำจัดของเสียจากฟาร์มสุกร

วัตถุประสงค์ เป็นการศึกษาการนำระบบก๊าซชีวภาพมาใช้ในการจัดการของเสียในฟาร์มสุกร

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ช่วยกำจัดของเสียจากฟาร์มสุกร เช่น มูลสุกร กลิ่นเหม็น น้ำเสียจากฟาร์มสุกร 2.ผลิตเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในภายในฟาร์ม เช่น ก๊าซชีวภาพมีเทนเป็นพลังงานความร้อนที่ใช้ในการหุงต้ม ผลิตแสงสว่าง และใช้เป็นแหล่งความร้อนในการกกลูกสุกร 3.มูลที่เหลือจากการหมักจะนำมาใช้เป็นปุ๋ยคอกในแปลงพืชผัก

วิธีการ 1.ศึกษาขั้นตอนการย่อยสลายมูลสัตว์และของเสียจากฟาร์มโดยจุลินทรีย์ 2.การออกแบบระบบก๊าซชีวภาพ ( บ่อหมักมูลสัตว์และของเสียจากสัตว์ )

ศึกษาขั้นตอนการย่อยสลายมูลสัตว์และของเสียจากฟาร์มโดยจุลินทรีย์ 1.แบคทีเรียPhychrophillis ย่อยสลายมูลเป็นกรดอินทรีย์ 2.แบคทีเรียMesophillis เปลี่ยนกรดอินทรีย์เป็นกรดน้ำส้ม 3.แบคทีรีย Thermophillis จะเปลี่ยนกรดน้ำส้มเป็นก๊าซมีเทน *แบคทีเรียทั้ง 3 ชนิดเป็น anaerobic microorganism

การออกแบบระบบก๊าซชีวภาพ เป็นการออกแบบระบบภาชนะหรืออุปกรณ์ที่เหมาะสม เพื่อรองรับมูลสัตว์เพื่อให้เกิดการหมักโดยแบคทีเรีย

ส่วนประกอบของระบบก๊าซชีวภาพ 1.บ่อรวมน้ำเสีย 2.บ่อตกตะกอน 3.บ่อหมักไร้ออกซิเจน

ส่วนประกอบของระบบก๊าซชีวภาพ 4.ลานกรองของแข็ง 5.บ่อหมักไร้ออกซิเจนแบบเร็ว 6.สระเปิดหรือบ่อเลี้ยงปลา

บ่อหมักไร้ออกซิเจน บ่อหมักไร้ออกซิเจนแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1.บ่อหมักแบบโดมคงที่ ( Fixed dome digester ) 2.บ่อหมักแบบราง ( Channel digester )

บ่อหมักแบบราง

สรุป 1.การกำจัดของเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้ระบบก๊าซชีวภาพ สามารถช่วยจัดการของเสียในฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพ ของเสียที่เป็นตะกอนจะถูกแยกและนำไปใช้เป็นปุ๋ยในแปลงพืชผล น้ำเสียที่ผ่านระบบนี้จะสามารถกำจัดของเสียได้ถึงร้อยละ 90 2.การกำจัดของเสียระบบนี้ นอกจากจะช่วยลดมลภาวะภายในฟาร์ม และชุมชน ยังสามารถได้รับผลพลอยได้ คือ ปุ๋ย ก๊าซชีวภาพมีเทนซึ่งเป็นพลังงานทดแทนเพื่อใช้ในการหุงต้ม การผลิตแสงสว่าง การใช้เป็นพลังงานภายในฟาร์ม

วิจารณ์และข้อเสนอแนะ 1.ระบบการกำจัดของเสียโดยวิธีนี้จะต้องใช้เงินลงทุนระยะแรกค่อนข้างสูง แต่สามารถใช้ได้เป็นระยะเวลานาน 2.ฟาร์มที่จะติดตั้งระบบนี้จะต้องเป็นฟาร์มที่มีการให้ความร่วมมือร่วมใจอย่างจริงจังในการช่วยแก้ปัญหาการลดมลภาวะ 3.น่าจะมีการต่อยอดเทคโนโลยีให้สามารถบำบัดน้ำเสียจากฟาร์มและนำกลับมาใช้ได้อย่างสมบูรณ์

เอกสารอ้างอิง ควมคุมมลพิษ, กรม. 2538. การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกรโดยใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ. กรุงเทพ ฯ : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยา ศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม. Steven J.Hoff,Dwaine S.Bundy, Minda A.Nelson and Brian C. Zelle.(2004). Emission of Ammonia, Hydrogen Sulfide and Odor before,during,after Slurry Removal from a Deep-Pit Swine Finisher. Air and Waste Manage.Assoc.56 :581-590.