เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
Formulation of herbicides Surfactants
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน

ผู้จัดทำ เสนอ ดร.สุมน คณานิตย์
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
สารเมลามีน.
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
เกษตรอินทรีย์ ชื่อกลุ่ม: ผลไม้ สมาชิกในกลุ่ม
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
863封面 ทองคำ เขียว.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
การเจริญเติบโตของพืช
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น ปุ๋ย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และวัสดุเหลือใช้ 2. ปุ๋ยเคมี หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ มี 2 ประเภท คือ:- 2.1 ปุ๋ยเดี่ยว หรือแม่ปุ๋ย 2.2 ปุ๋ยผสม

ชื่อเทคโนโลยี : ผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชจากสารสกัดเมล็ดมันแกว

แมลงศัตรูพืชนับเป็นปัญหาสำคัญต่อการทำเกษตรกรรมของเกษตรกร ซึ่งการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชนั้น จำเป็นต้องพึ่งวัตถุมีพิษทางการเกษตร อันได้แก่ ยาฆ่าแมลง ที่มีราคาแพงและต้องนำเข้าจากต่างประเทศ จะส่งผลก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น เป็นพิษต่อคนและสัตว์ ทำให้เกิดการดื้อยาของแมลง และยังทำลายแมลงที่มีประโยชน์ในระบบนิเวศวิทยา ก่อให้เกิดการตกค้างของสารพิษต่อผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งส่งผลกระทบทั้งสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต

ศูนย์เทคโนโลยีปุ๋ย จึงได้ทำการศึกษาวิธีการสกัดสารออกฤทธิ์จากพืช / สมุนไพร และทำการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดต่อแมลงศัตรูพืชขึ้น เพื่อนำสารสกัดธรรมชาติโดยเฉพาะจากพืชมาใช้ทดแทนสารเคมีในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช

การศึกษาวิธีการสกัดสารออกฤทธิ์และการทดสอบประสิทธิภาพของสารต่อแมลงศัตรูพืชนั้น ดร.สุริยา สาสนรักกิจ ผู้อำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยีปุ๋ย และคณะ ได้ทำการทดสอบกับพืช 4 ชนิด คือ หนอนตายหยาก ข่าลิง เมล็ดมันแกว และหางไหล ซึ่งเป็นพืชที่สามารถนำมาสกัดเป็นสารป้องกันกำจัดแมลงได้ พบว่าเมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชทั้ง 4 ชนิดดังกล่าว โดยวิธีการสกัดแบบลำดับส่วนด้วยตัวทำละลายที่มีความแรงของขั้วแตกต่างกัน 3 ชนิด คือ เฮกเซน เมทานอล และน้ำ พบว่า สารสกัดจากเมล็ดมันแกว ซึ่งมีสาร rotenone และ saponins ที่มีสารออกฤทธิ์เป็นยาฆ่าแมลง ได้ส่งผลต่ออัตราการตายของหนอนกระทู้ผักสูงที่สุด ในระดับความเข้มข้นของสารตั้งแต่ 0.1% ขึ้นไปจะส่งผลต่ออัตราการตายของหนอนกระทู้ในผักมากกว่า 90%

พบว่าอัตราที่เหมาะสมในการฉีดพ่นเพื่อป้องกันและกำจัดแมลง ควรใช้ความเข้มข้น 0.25 - 1% ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชจากสารสกัดเมล็ดมันแกว สามารถเก็บรักษาได้อย่างน้อย 8 สัปดาห์ ด้วยการเก็บในขวดสีชา หรือไม่ให้โดนแสงแดด และเก็บที่อุณหภูมิห้อง โดยที่ผลิตภัณฑ์ยังมีปริมาณสารออกฤทธิ์คงเดิม…ได้พัฒนาเครื่องจักรและอุปกรณ์ ต้นแบบกระบวนการผลิตสารสกัดจากเมล็ดมันแกว เพื่อให้ได้กระบวนการผลิตสารอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถผลิตได้อย่างเพียงพอกับความต้องการของเกษตรกร

สำหรับการทดสอบความเป็นพิษของผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชจากสารสกัดเมล็ดมันแกวนั้น ดร. ประไพภัทร คลังทรัพย์ นักวิชาการ ฝ่ายเภสัชและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ กล่าวว่า เนื่องจากผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืชจากสารสกัดเมล็ดมันแกว จะถูกนำไปใช้ในรูปสารละลายและพ่นฝอยสู่พืช อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและดวงตาได้ จึงทำการทดสอบตามมาตรการทดสอบของทั้งประเทศสหรัฐอเมริกาและยุโรป โดยใช้สัตว์ทดลองในการศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลัน โดยทำการเจือจางผลิตภัณฑ์ 100 เท่าตามวิธีการที่นำไปใช้จริง เพื่อศึกษาฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงต่อสารพันธุกรรมหรือ DNA และการทดสอบพิษตกค้างต่อสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำต่อไป