การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดระบบเอกสารในการประกันคุณภาพ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
กลุ่มงานตำรา ผศ. สุมล มานัสฤดี อ. วิภาวี ตลึงจิตร
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Research Problem ปัญหาการวิจัย
เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ระบบการบริหารการตลาด
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยตามเกณฑ์ สกว.
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ระบบข้อสอบออนไลน์.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
Management Information Systems
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การนำผลการวิจัยไปใช้
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
กรณีความเสี่ยง DMSc.
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการสนับสนุนการศึกษาค้นคว้าอิสระ(IS) ให้ประสบความสำเร็จ อ. ดร
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50.
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา

ผลการประเมินภาควิชา KPI 1 สัดส่วนการตีพิมพ์เทียบเท่าวารสารนาๆชาติต่ออาจารย์ในภาควิชา KPI 2 สัดส่วน impact factor ต่ออาจารย์ในภาควิชา KPI 3 ผลรวมสัดส่วนการตีพิมพ์เทียบเท่าวารสารนาๆชาติ KPI 4 ผลรวมสัดส่วน impact factor

ผลการประเมินภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา

ปัญหาและอุปสรรค 1. นโยบายการบริหาร 2. เวลา 3. ความรู้ทางวิจัย 4. ระบบสนับสนุนงานวิจัย 5. งานวิจัยค้างที่ไม่ได้ลงตีพิมพ์ 6. ค่าตอบแทนจากการวิจัย

เป้าหมาย ลงตีพิมพ์วารสารที่มี impact factor อย่างน้อย 1 เรื่อง/ 2 ปี/ 1 อาจารย์ การวิจัยไม่เป็นเฉพาะบุคคล และทำให้การวิจัยไม่เป็นเฉพาะบุคคล

แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. ด้านนโยบายการบริหาร ปัญหา: - ไม่เน้นความสำคัญของการวิจัย - ไม่ได้นำผลงานวิจัยมาประกอบการประเมินอย่างชัดเจน กลยุทธ์: 1. จัดการวิจัยเป็น 1 ใน 4 ภาระงานหลักของอาจารย์ (การเรียนการสอน การบริการ การบริหารและการวิจัย) 2. นำผลงานวิจัยมาใช้ประเมินอาจารย์ประจำปี โดยให้น้ำหนักการประเมินเทียบเท่าภาระงานอื่นๆ (อย่างละ 25%) 3. ให้คะแนน Bonus กรณีผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์วารสารที่โดดเด่นหรือได้รับการจดสิทธิบัตร

แนวทางการแก้ไขปัญหา 2. ด้านเวลา ปัญหา: การบริหารเวลา เนื่องจากภาระงานอื่นๆ มากเกินไป กลยุทธ์: 1. จัดวันว่าง 1 วัน/สัปดาห์ สำหรับการทำวิจัย 2. แบ่งภาระการเรียนการสอน การบริการและการบริหารให้เป็นสัดส่วนพอๆกัน เพื่อให้มีเวลาทำวิจัย

แนวทางการแก้ไขปัญหา 3. ด้านความรู้ทางวิจัย ปัญหา: หาหัวข้อวิจัย การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง หลักการและระเบียบ วิธีวิจัย ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในการ วิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนงานวิจัยลงตีพิมพ์ กลยุทธ์: 1. สนับสนุนให้อาจารย์เข้าอบรมหัวข้อที่เกี่ยวกับการวิจัยและระบาดวิจัย 2. จัดอบรมการทำวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและการลงตีพิมพ์ในภาควิชา 3. ประชุมวิจัยทุก 2 เดือนเพื่อหารือหัวข้อวิจัย รวมถึงติดตามงานวิจัย

แนวทางการแก้ไขปัญหา 4. ระบบสนับสนุนงานวิจัย ปัญหา: ความเพียงพอของแหล่งค้นคว้า ระบบสืบค้นข้อมูล หน่วยงาน ภายในที่สนับสนุนการทำวิจัย กลยุทธ์: 1. จัดสรรผู้ช่วยวิจัยตามโครงการวิจัยตามหน่วยผู้ช่วยวิจัย 2 คน แบ่ง การรับผิดชอบตามหน่วยเฉพาะทาง : หน่วย Rhino Allergy + Oto Otoneuro 1 คน : หน่วย Oncology + snoring+ Larynx Swallow 1 คน 2. พัฒนาศักยภาพผู้ช่วยวิจัย เพื่อช่วยลงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล

แนวทางการแก้ไขปัญหา 3. สร้างฐานข้อมูลตามหน่วยย่อยต่าง ๆ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและสามารถใช้ในการพัฒนางานวิจัยต่อไปในอนาคต 4. จัดหาโปรแกรมการคำนวณทางสถิติที่ถูกลิขสิทธิ์ในภาควิชา 5. ทำข้อมูลวารสารของ ENT ที่มี impact และเรียงตาม impact factor จากสูงไปต่ำ เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกลงตีพิมพ์

แนวทางการแก้ไขปัญหา 5. งานวิจัยค้างที่ไม่ได้ลงตีพิมพ์ ปัญหา: งานวิจัยหลายโครงการมีข้อมูลแล้วไม่ได้ลงตีพิมพ์ กลยุทธ์: สนับสนุนให้นำข้อมูลงานวิจัยที่เสร็จหรือไม่ทำต่อ ไปวิเคราะห์และ ลงตีพิมพ์ โดยมีสำรวจสถานภาพโครงการวิจัยเก่าปีละครั้งและ แจ้งหัวหน้าโครงการเพื่อกระตุ้นให้มีการนำข้อมูลมาตีพิมพ์

แนวทางการแก้ไขปัญหา 6. ค่าตอบแทนจากการวิจัย ปัญหา: ผลประโยชน์หรือค่าตอบแทนน้อย ทำให้ไม่จูงใจให้ทำวิจัย และ การวิจัยเป็นเฉพาะบุคคล กลยุทธ์: 1. นำผลงานวิจัยที่ลงตีพิมพ์ไปเป็นคะแนนหรือ bonus ในการประเมินอาจารย์ 2. ส่งเสริมให้อาจารย์ลงตีพิมพ์ในวารสารที่มี impact factor สูง โดยให้ค่าตอบแทนจากภาควิชาเพิ่มสำหรับงานวิจัยที่ลงตีพิมพ์ตาม impact factors x 5000 บาท แต่ไม่เกิน 20000 บาท เงินไม่ใช่คำถาม แต่เงินเป็นคำตอบสุดท้าย เงินไม่ใช่พระเจ้า แต่พระเจ้าคือเงิน

Thank you for your attention! หวังว่ากลยุทธ์นี้จะช่วยให้ถึงเป้าหมายที่วางไว้ แม้จะยากเย็นตะเกียกตะกายเพียงใด ขอบคุณครับ