ทิศทางในการดำเนินงานของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา การดำเนินงานวิจัย พัฒนาและบริการวิชาการด้าน ไวรัสวิทยา โดยมุ่งเน้นศึกษาไวรัสที่เป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขของประเทศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
Advertisements

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต Master of Science (Mental Health) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์
Doctor of Philosophy Program in Biopharmaceutical Sciences
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สัตววิทยา (Zoology)
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
การประชุมใหญ่ คณาจารย์และบุคคลากร คณะบริหารธุรกิจ ประจำปีการศึกษา 2554
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
1 คณะอนุกรรมการดำเนินการสอนที่ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และ สอดแทรกจริยธรรม เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สกอ. ผู้แทนสถาบันในเครือข่ายที่แม่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย.
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
กรณีความเสี่ยง DMSc.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
ประเมินหลังการรับบริการ
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายงานควบคุมโรคเรื้อน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
การประชุมครั้งที่ 4/2557 วันพุธที่ 20 สิงหาคม 2557 เวลา น. – น. ณ ห้องประชุม 3-6 มหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิต.
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
TRAT Model Roadmap to HIV Standard Based On HA ๒๐๑๑
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ณ. สีดารีสอร์ท อ. เมือง จ. นครนายก
ซอฟต์แวร์ virus ไวรัสคอมพิวเตอร์ โดย ครูดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง.
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางในการดำเนินงานของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา การดำเนินงานวิจัย พัฒนาและบริการวิชาการด้าน ไวรัสวิทยา โดยมุ่งเน้นศึกษาไวรัสที่เป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขของประเทศ ได้แก่ HIV, Hepatitis viruses, Influenza virus, Dengue virus, Chikungunya virus, Rotavirus, Hand foot mouth disease, viruses, Herpesviridae เป็นต้น นอกจากนี้ยังให้บริการตรวจ วินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสโดยการเพาะเลี้ยง เทคนิคทาง ภูมิคุ้มกัน และทิศทางอณูชีวโมเลกุล พร้อมให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการตรวจวินิจฉัยและ ชันสูตรโรคติดเชื้อไวรัส

วัตถุประสงค์ 1. เป็นห้องวิจัยด้านไวรัสวิทยาที่อาจารย์ นักวิจัยที่ ทำงานวิจัยเกี่ยวข้องสามารถมาใช้เป็นสถานที่ทำวิจัยได้ 2. เพื่อใช้สำหรับการเรียนการสอนในด้านไวรัสวิทยา ในทุกระดับ ได้แก่ ปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา พร้อมทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้ในการทำงายวิจัยของบัณฑิตศึกษา 3. เพื่อให้บริการการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัส โดยการเพาะเลี้ยง เทคนิคทางภูมิคุ้มกัน และเทคนิคทางอณู ชีวโมเลกุล 4. เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลทางไวรัสวิทยาที่สามารถ ให้บริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมตลอดจนการถ่ายทอด เทคโนโลยีสู่สาธารณะ 5. เพื่อพัฒนาความร่วมมือกับสถาบันเครือข่าย ภาครัฐบาล เอกชน ทั้งในและต่างประเทศ

โครงการวิจัยที่รองรับ รองรับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับไวรัส โรคติดเชื้อไวรัส โรคมะเร็งที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อไวรัสที่เป็นปัญหาทาง สาธารณสุขของประเทศไทย ได้แก่ HIV, Hepatitis viruses, Influenza virus, Dengue virus, Chikungunya virus, Rotavirus, Hand foot mouth disease, viruses, Herpesviridae เป็นต้น โดยใช้เทคนิคการเพาะเชื้อ เทคนิค ทางภูมิคุ้มกัน และเทคนิคทางอณูชีวโมเลกุล