ระบบประกันสุขภาพประเทศมาเลเซีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
รู้จัก กบข.. รู้จัก กบข. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เอกชน / ข้าราชการ เอกชน / รัฐวิสาหกิจ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ.
กองทุนสวัสดิการ.
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
การศึกษาดูงานในประเทศ และต่างประเทศ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
กองทุนประกันสังคมคือ...
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
กฎหมายแรงงาน นพ. จรัส โชคสุวรรณกิจ
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2553
เพื่อเพิ่มคุณภาพและความครอบคลุม
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
สรุปการประชุมระดมความคิด
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลทัพทัน
M&E M&E by..nuntana Claim Claim.
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
โครงการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ตามโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ ด้านสาธารณสุข (Mega Project) โครงการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ตามโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ.
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 กุมภาพันธ์ 2549.
สิทธิสวัสดิการช่วยเหลือในการรักษาพยาบาล
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์ และอัตรา สำหรับประโยชน์ทดแทนในกรณี
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบประกันสุขภาพประเทศมาเลเซีย เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรพจน์ พรหมสัตยพรต

ความเป็นมา ระบบสุขภาพของประเทศมาเลเซียแต่ก่อนถูกพัฒนามาเพื่อตอบสนองความต้องการของข้าราชการพลเรือน และพนักงานของรัฐ และค่อยๆพัฒนาบริการ ขยายไปให้บริการกับประชาชนในเมืองและเขตพื้นที่ส่วนใหญ่ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองได้มีการพัฒนาจากเดิมโดยให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ชนบทด้วย ต่อมา ได้มีการศึกษารูปแบบบริการสุขภาพของประเทศไต้หวัน และมีการพัฒนารูปแบบประกันสุขภาพมาจนถึงปัจจุบัน

รูปแบบระบบประกันของประเทศมาเลเซีย มีดังนี้ Employees Provident Fund (EPF) Social Security Organization (SOCSO) ประกันสุขภาพเอกชน

1. Employees Provident Fund (EPF) เป็นหลักประกันด้านการเงินเมื่อเกษียณจากการทำงาน เมื่อเจ็บป่วยและเดือดร้อนเรื่องที่อยู่อาศัย ใช้กลไกการบังคับออม(Compulsory savings scheme) และร่วมสมทบโดยนายจ้าง

2.Social Security Organization (SOCSO) สำหรับลูกจ้างหรือแรงงานที่มีรายได้ต่ำ(ไม่เกิน 2,000 ริงกิตต่อเดือน) เป็นประกันสังคมแบบบังคับ ให้ผลประโยชน์แก่ลูกจ้างในกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือการเจ็บป่วยหรือ พิการ อันเนื่องมาจากการทำงาน

3. ประกันสุขภาพเอกชน สำหรับผู้ที่ไม่มีประกันสุขภาพ สามารถใช้บริการที่รัฐจัดให้โดยไม่เสียค่าบริการ

งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ มาจาก 4 แหล่ง direct taxation (จากการเก็บภาษีโดยตรง) social insurance (ประกันสังคม) - Private health insurance (ประกันเอกชน) - out-of-pocket payments (ประชาชนชำระค่าใช้จ่ายเอง) รายได้ของโรงพยาบาลรัฐ ได้มาจากการเก็บภาษีทั่วไป (General tax) และได้จากเงินที่ผู้ป่วยจ่ายเอง

ระบบบริการ ทางเลือกใช้บริการของผู้บริโภค การเข้าสู่ระบบ และการส่งต่อ -โดยหลักการ ผู้ป่วยต้องขอรับบริการตามขั้นตอนของระบบการส่งต่อ -โดยทางปฏิบัติ ผู้ป่วยสามารถเลือกใช้บริการจากสถานพยาบาลใดก็ได้ ทั้งรัฐ และเอกชน ผู้ให้บริการ -ภาครัฐและเอกชนให้บริการทุกระดับ -สถานบริการปฐมภูมิของภาคเอกชนมากกว่าภาครัฐ -สถานบริการทุติยภูมิ และตติยภูมิ ภาครัฐมากกว่าภาคเอกชน

เปรียบเทียบกับระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย ไม่มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระบบประกันสังคมเป็นการประกันสังคม แบบบังคับ สำหรับลูกจ้างหรือแรงงานที่มีรายได้ต่ำ ผู้ที่ไม่มีประกันสุขภาพสามารถใช้บริการที่ รัฐจัดให้โดยไม่เสียค่าบริการ มีระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระบบประกันสังคมครอบคลุมลูกจ้างหรือ แรงงาน ทุกคน ผู้ด้อยโอกาสจะไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเข้า รับบริการ

สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวจิราภรณ์ หน่อใหม่ 54011410022 2.นางสาวจิราภรณ์ โชคเหมาะ 54011410023 3.นางสาวชนาภา นาใจคง 54011410036 4. นายกิตติศักดิ์ โม้แซง 54011410132 5. นางสาวน้ำฝน กางหอม 54011410165 6.นางสาวอรทัย บุญพันธ์ 54011410218 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต

ขอบคุณค่ะ