The Effects of Absorptive Capacity and Decision Speed on Organizational Innovation : A Study of Organizational Structure as an Antecedent Variable Shin-Tien.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

Dr.Smira Chittaladakorn
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
The Power of Communication
การสร้างคำถาม.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Thesis รุ่น 1.
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
Information System Project Management
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง Factors Contributing to the successful Implementation of Technology Innovations by David C. Ensminger, Daniel W.
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การเขียนรายงานการวิจัย
การศึกษาความพึงพอใจของ
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
กระบวนการวิจัย Process of Research
การจัดการฐานข้อมูล.
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
โครงสร้างขององค์การ.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การออกแบบการวิจัย.
Change Management.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
CLASSROOM ACTION RESEARCH
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The Effects of Absorptive Capacity and Decision Speed on Organizational Innovation : A Study of Organizational Structure as an Antecedent Variable Shin-Tien Chen

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่ออธิบายว่าโครงสร้างขององค์กรมีผลกระทบอย่างไรกับ ความสามารถในการซึมซับและการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วและ ส่งผลต่อไปการสร้าง นวัตกรรมขององค์กร

การทบทวนวรรณกรรม Organization Structure : (formalization , centralization และ specialization) Organization Innovation ใน 3 ระดับ คือ “Individual” , “Organization” และ “Contextual” จากการทบทวนวรรณกรรม นักวิจัยพบว่าส่วนใหญ่ โครงสร้างขององค์กรที่แตกต่างกันจะส่งผลการมีนวัตกรรมขององค์การ

Conceptual Model Organizational structure Formalization Centralization absorptive capacity Formalization Centralization Organizational structure Organization Innovation decision speed

สมมติฐานการวิจัย formal structure (H) → absorptive (H) → innovation (H) centralize structure (H) → absorptive (L) → innovation (L formal structure (H) → decision speed (L) → innovation (L) centralize structure (H) → decision speed (L) → innovation (L)

ที่มาสมมติฐานที่ 1 และ 2 จากมุมมองของโครงสร้างองค์การที่เป็นแบบ formalization และ centralization สามารถที่จะนำมา discuss ได้หลากหลาย (Child ,1972;Mintzberg, 1979;Adler, 1999) เช่น ถ้าโครงสร้างองค์กรเป็นตัวจำกัดการดำเนินงาน พนักงานอาจจะขาดความสามารถในการซึมซับหรือขาดความสามารถที่จะตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (Hurley and Hult et al.,2002; Calantine et al.,2002) ลักษณะโครงสร้างขององค์กรที่เป็น formal จะทำให้ความรู้ถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์การมีวิธีการบริหารแบบ Best Practice (Nahm et al.,2003) แสดงให้เห็นว่าโครงสร้างองค์กรแบบนี้อาจจะส่งผลให้พนักงานสูญเสียแรงจูงใจในการสร้างนวัตกรรม โครงสร้างแบบ centralize จะมีความยืดหยุ่นน้อย แต่มีความสามารถในการที่ integrate ข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูล

ที่มาสมมติฐานที่ 1 และ 2 ที่ผ่านมา มีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างแบบ formalize หรือแบบ centralize และการพัฒนา innovation ซึ่งพบว่า ส่งผลในทางบวกในบางกรณี และในบางกรณีก็ส่งผลในทางลบ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้ จะเน้นไปที่การศึกษาองค์การที่มีระดับโครงสร้างองค์การที่เป็น formalize และ centralize สูงๆ

ที่มาของสมมติฐานที่ 3 และ 4 เกี่ยวกับ Organization structure , decision speed และ organization innovation โดยปกติ การตัดสินที่เร็ว จะ refer ไปที่ องค์กรจะดำเนินงานให้รวมเร็วได้อย่างไรตามกระบวนการของการตัดสินใจ ซึ่งการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วนั้น แสดงให้เห็นว่า ธุรกิจจะพัฒนากลยุทธ์อย่างไรให้รวดเร็วทันต่อการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก องค์กรที่มีโครงสร้างองค์กรแบบ formal ในระดับสูง จะมีการตัดสินใจช้า องค์กรที่มีโครงสร้างองค์กรแบบ centralize ในระดับสูง จะมีแรงจูงใจและประสิทธิภาพของพนักงานต่ำ และมีการตัดสินใจช้า

วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา บริษัทจำนวน 260 แห่ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา บริษัทจำนวน 260 แห่ง เครื่องมือสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบสอบถาม โดยแจกไปทั้งหมด 1,282 ชุด ใช้ Structural Equations Model ในการวิเคราะห์ข้อมูล ทดสอบความน่าเชื่อถือโดยใช้ Cronbach alpha ซึ่งได้ค่าความน่าเชื่อถืออยู่ในระดับที่สูง คือทุกตัวแปรอยู่ระหว่าง 0.80-0.95 ทดสอบความถูกต้องโดยการทำ pre-test การอธิบายผลทางสถิติใช้ ค่า mean ,SD และ correlation coefficient

ผลลัพธ์การวิจัย จากตารางที่ 4 น.38 เป็นผลของการของศึกษาโดยมีการควบคุมตัวแปร อายุองค์กร ขนาดองค์กร การแชร์ความรู้ในองค์กร วัฒนธรรมองค์กรและประเภทธุรกิจ ผลจากการทดสอบทางสถิติ พบว่า model นี้ ได้ค่า GFI (Goodness-of-Fit Index) ที่ 0.96 และค่า NFI (Normed Incremental Fit Index) ที่ 0.97 ซึ่งทั้งคู่มีค่าสูงกว่าระดับที่สามารถยอมรับได้คือ 0.90 ดังนั้น model นี้ fit กับ data

ผลลัพธ์การวิจัย -ผลการทดสอบสมมติฐาน Formalization + Absorptive + Innovation 1. 2. 3. 4. - + Centralization Absorptive Innovation Formalization - decision speed + Innovation Centralization decision speed + Innovation

The END