Thomas L. Friedman เรียบเรียงโดย นพ.สุวิทย์ เลิศขจรสิน The World is Flat Thomas L. Friedman เรียบเรียงโดย นพ.สุวิทย์ เลิศขจรสิน
ใครว่าโลกกลม เป็นหนังสือที่แต่งโดย Thomas L. Friedman แปลโดย รอฮิม ปรามาท เนื้อหาแบ่งออกเป็น 3 เล่ม ได้แก่ เล่มที่หนึ่งโลกแบนราบได้อย่างไร เล่มที่สอง ผลกระทบจากการแบนราบ เล่มที่สาม การปรับตัวขององค์กร
โลกแบนราบลงได้อย่างไร ขณะที่ผมหลับ พลังสิบประการที่ทำให้โลกแบนราบ
ขณะที่ผมนอนหลับ ใครเชื่อว่าโลกกลม ใครเชื่อว่าโลกแบนลง ทำไมถึงเชื่อเช่นนั้น มีหลักฐานใดบ้าง กฎ80/20
ทำไมถึงเชื่อว่าโลกแบนลง ผู้เขียนเชื่อเช่นนั้น เพราะผู้เขียนได้เห็นตัวอย่างจากหลายๆประเทศที่เดิมเคยเป็นประเทศที่ไม่สามารถต่อสู้ทางเศรษฐกิจได้ แต่ปัจจุบันเป็นแหล่งผลิตที่สามารถแข่งขันกับนานาชาติได้(โดยเฉพาะแข่งกับอเมริกา) เช่นจีน อินเดีย การแบ่งยุคแห่งการแบนราบ ยุคที่หนึ่ง1490-1800 โลกเริ่มแบนราบลงเพราะการขยายอาณาเขตของประเทศโดยการรบ การเผยแผ่ศาสนา ยุคที่สอง 1800-2000 โลกแบนราบลงอย่างมากโดยการค้า บรรษัทข้ามชาติติดต่อข้ามประเทศ การคมนาคมที่ดีขึ้น ยุคที่สาม 2000+ ผู้คนเริ่มติดต่อกับโลกโดยปัจเจกบุคคล
ตัวอย่างของการแบนราบ อินโฟซิส บังกาลอร์ การเอาท์ซอสต่างๆ เช่น นักบัญชี แพทย์ นักข่าว การออฟชอร์ ต้าเหลียนแห่งประเทศจีน การสั่งเบอร์เกอร์ E tutor อื่นๆ คุณรู้สึกหรือยังว่าโลกแบนราบลงจริง และคุณรู้สึกอย่างไรบ้าง
พลัง10ประการที่ทำให้โลกแบนราบ Windows Netscape Work flow software Uploading Outsourcing
พลัง10ประการที่ทำให้โลกแบนราบ Supply-chaining Insourcing In-forming Steroids
Windows เมื่อโลกรู้จักระบบปฏิบัติการณ์ (OS) ที่เป็นมาตรฐานและเป็นมิตรกับคนที่ได้ใช้ ใช้งานง่าย สามารถพัฒนา software ต่อยอดได้ง่าย โดยเฉพาะ window3.1 และยิ่ง pc มีราคาต่ำลงผู้คนสามารถทำงานที่บ้านและที่ทำงานได้สะดวกขึ้น
Netscape เป็น web browser ตัวแรกๆของโลก ด้วยinterface ที่ใช้ง่าย ทำให้เป็นที่นิยม ผู้คนติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายขึ้น และแน่นอนบริษัทต่างๆก็ทำงานได้ง่ายขึ้นด้วย
Work flow software ลองคิดถึงการทำงานสมัยก่อน แต่ละบริษัทแต่ละแผนกจะมีโปรแกรมการทำงานเฉพาะของแต่ละฝ่าย เช่นแผนก opd อาจจะมีระบบฐานข้อมูลแบบหนึ่ง แผนกเภสัชอาจจะมีโปรแกรมสต็อกยาอีกอันหนึ่ง และแผนกบัญชีก็ใช้โปรแกรมบัญชีอีกตัวหนึ่งทำให้ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้ว่าผู้ป่วยหนึ่งคนจะจ่ายยาอะไร ยานั้นในสต็อกขาดอยู่หรือเปล่า และเป็นเงินเท่าไหร่ สมัยนั้นเราอาจแก้ปัญหาโดยผู้ช่วยหรือผู้ป่วยนำใบสั่งยาไปให้ห้องเภสัชว่ามียาหรือไม่ ถ้าโชคดีมียาก็ต้องเดินไปห้องคิดเงินว่าราคาเท่าไหร่ จ่ายเงินแล้วเดินกลับมาเพื่อรอรับยา ถ้าต้องฉีดยาก็จะต้องเดินไปห้องฉีดยาอีก เป็นต้น ปัจจุบันมีsoftwareที่นอกจากติดต่อกันได้ระหว่างแผนกในองค์กร แต่ยังสามารถติดต่อกันได้ระหว่างรพ.อีกด้วย
Uploading IBM apache Wikipedia Linux จุดจบของการuploadมีจริง???
Outsourcing Y2K อินเดีย บังการลอร์
Offshoring จีน WTO
Supply-chaining Walmart
Insourcing UPS-United Parcel Service
Informing Google Yahoo MSN websearch
Steroids Digital Mobile Personal Virtual
หลังจากอ่านจบเล่มที่หนึ่งแล้วมีคำถาม??? โลกแบนราบลงจริงหรือ จริงหรือที่เราจะสามารถแข่งกับที่อื่นๆได้ ไม่ต้องเป็น Yale Oxford Mayo แต่ถ้าเป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยอื่นๆ เราสามารถลดความแตกต่างลงได้จริงหรือ ขั้นตอนใดบ้างที่เราน่าจะทำเพื่อให้แข่งขันได้
As the future catch you หนังสือเล่มนี้สอนให้รู้ว่าคุณจะอยู่รอดในอนาคตได้อย่างไร และบังเอิญผมก็เชื่อซะด้วย ผมเชื่อว่าขั้นตอนที่ 1 2 3 4 และ 9 เป็นขั้นตอนที่เราควรทำและควรมีนโยบายที่ชัดเจนกับพนักงานทุกระดับเพื่อลดช่องว่างในการแข่งขัน
สิ่งที่เราน่าจะทำ(ในความคิดของผม)เพื่อพัฒนา การเขียนsupply-chainingทั้ง3งานหลักคือ งานบริการ งานสอน งานวิจัย การรับงาน outsourcing ต่างๆเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ การกระจายงาน outsourcing (งานที่ไม่ใช่สาระสำคัญของเรา) การหาคู่ค้าเพื่อให้เขาช่วยทำงาน insoucing บางอย่างเช่น excellence center