ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
ความดีเด่นของสถานศึกษา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยในชั้นเรียน ครูบรรจุใหม่
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ผู้บริหารการศึกษาและศึกษานิเทศก์ เพื่อให้มีและเลื่อนวิทยฐานะ
การแต่งกายของนักเรียน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียน
การประชุมเตรียมการเข้า ร่วมแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนครั้งที่ 62 ที่จังหวัดชัยภูมิ 30 ตุลาคม 2555.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ยกระดับคุณภาพครูให้เป็น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การติดตามประเมินผลการ พัฒนา ผู้นำการเปลี่ยนแปลง สถานศึกษาประเภทที่ 1 รุ่นที่ 2 (2551) โดย นายสุภัทร พันธ์พัฒนกุล ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาครู และบุคลากรการศึกษาขั้น.
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การพัฒนาศักยภาพครูสู่ตำแหน่งวิชาการ ในมุมมองของผู้บริหารโรงเรียน.
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย ดร.นิวัตต์ น้อยมณี ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

องค์ประกอบของห้องเรียนคุณภาพ หลักสูตร ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมสนับสนุน แหล่งเรียนรู้ ออกแบบการจัดการ เรียนรู้อิงมาตรฐาน Positive Discipline ICT โรงเรียน ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง ICT ห้องเรียน ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ห้องเรียน คุณภาพ CAR Inside out Outside in การวางแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) มุ่งสู่มาตรฐานสากล

วิธีดำเนินงานอย่างเป็นระบบ

Deming Lehman Chat PLAN DO CHECK ACTION MODIFICATION - NEED - MEASURABLE GOALS - CONSTRAINTS - ALTERNATIVES - SELECTION - ค้นหาปัญหา/ความต้องการ/ความจำเป็น - กำหนดเป้าหมาย - หาทางเลือกในแก้ปัญหา - ศึกษาหลักการ/แนวคิดในการแก้ปัญหา - กำหนดวิธีการแก้ปัญหา PLAN DO IMPLEMENTATION ปฏิบัติการ CHECK การติดตามและประเมินผล ได้ผล – เผยแพร่/ขยายผล/ปฏิบัติตาม ไม่ได้ผล – พัฒนา/ปรับปรุง/แก้ไข ACTION MODIFICATION 4

ความสำเร็จของผู้นำการเปลี่ยนแปลง KPI : ครบทุกเรื่องของห้องเรียนคุณภาพ  K:Knowledge (ความรู้)  P:Performance (ผลการปฏิบัติงาน)  I:Indicator (ตัวชี้วัด)

ด้านการออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 1 ความรู้(Knowledge)  ครูออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ตามรูปแบบ Backward Design  ผู้บริหารนิเทศ Coach การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการปฏิบัติงาน(Performance)  ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้อิงมาตรฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตัวชี้วัด(Indicator)  นักเรียนมีผลงาน/ชิ้นงานที่สะท้อนคุณภาพการคิดระดับสูง  ผลการเรียนรวบยอดระดับสถานศึกษาและระดับชาติ

ด้าน ICT 2 ความรู้(Knowledge) ผลการปฏิบัติงาน(Performance)  การใช้ e-mail  การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการผ่าน Website ตัวชี้วัด(Indicator)  มีแผนพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้ ICT

ด้านการวิจัยในชั้นเรียน 3 ความรู้(Knowledge)  การจัดทำ ID Plan  การจัดทำวิจัยในชั้นเรียน ผลการปฏิบัติงาน(Performance)  การใช้ CAR ในการพัฒนาตนเองและนักเรียน ตัวชี้วัด(Indicator)  รายงานการพัฒนาตนเองและนักเรียน

ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 4 ความรู้(Knowledge)  ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน  การสร้างวินัยเชิงบวก ผลการปฏิบัติงาน(Performance)  การพัฒนานักเรียนอย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด(Indicator)  ครูมีพฤติกรรมเชิงบวก  รายงานการพัฒนานักเรียนอย่างเป็นระบบแบบองค์รวม ทั้งร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์

ด้านผู้นำการเปลี่ยนแปลง 5 ความรู้(Knowledge)  แนวคิด/หลักการของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผลการปฏิบัติงาน(Performance)  แผนการพัฒนาตนเอง  ผลงานเชิงสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด(Indicator)  การมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ผลงาน  ความพึงพอใจของผู้ที่มีส่วนได้เสีย

แนวทางการขับเคลื่อนของสถานศึกษา วิเคราะห์บริบทและสภาพปัจจุบันของโรงเรียน ศึกษาแนวคิด/หลักการ กำหนดเป้าหมายสู่ห้องเรียนคุณภาพ จัดทำแผนพัฒนาของสถานศึกษา ดำเนินการพัฒนาสู่ห้องเรียนคุณภาพ นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล รายงานการพัฒนา

แนวการดำเนินงานของ สพท.สป.2 กำหนดกลยุทธ์การนิเทศ/ติดตาม ติดตามการดำเนินงานของโรงเรียนตาม CAR 1- 4 สรุปผลการประเมินภายในเดือนกันยายน 2551 ประกาศผลการคัดเลือกตัวแทนสถานศึกษาของ สพท.สป.2 ภายในเดือนตุลาคม 2551 ตัวแทนสถานศึกษาจัดแสดงผลงาน ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี ภายในเดือนพฤศจิกายน 2551

สวัสดี