ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School University of Phayao DESUP
ลม (Wind) อุณหภูมิสูง ความดันอากาศต่ำ อุณหภูมิต่ำ ความดันอากาศสูง อากาศจะเคลื่อนที่จากอากาศที่มีความดันอากาศสูงไปสู่ความดันอากาศต่ำ การเคลื่อนที่ของอากาศนี้เรียกว่า “ลม (Wind)” ความดันอากาศสูง ความดันอากาศต่ำ ความหนาแน่นอากาศสูง ความหนาแน่นอากาศต่ำ อุณหภูมิต่ำ อุณหภูมิสูง ทิศทางของลม
ลม (Wind) อัตราเร็วของลมขึ้นอยู่กับ ถ้าความดันอากาศแตกต่างกันมาก ลมจะมีความเร็วสูง ถ้าความดันอากาศแตกต่างกันน้อย ลมจะมีความเร็วต่ำ
ลม (Wind) เครื่องมือที่ใช้วัดความเร็วของลมเรียกว่า “มาตรอัตราเร็วลม” หรือ อะนีโมมิเตอร์ (anemometer)
ลม (Wind) เครื่องมือที่ใช้วัดทิศทางของลมเรียกว่า “ศรลม”
ลม (Wind) ลมประจำถิ่น คือ ลมที่พัดเป็นประจำในพื้นที่หนึ่ง ๆ เช่น ลมบก ลมทะเล ลมหุบเขา ลมบก-ลมทะเล
ลม (Wind) ลมหุบเขา พัดในเวลากลางวัน ความดันอากาศด้านล่างเขามากกว่ายอดเขา L L H H
ลม (Wind) ลมภูเขา พัดในเวลากลางคืน ความดันอากาศด้านล่างเขาน้อยกว่ายอดเขา
ลม (Wind) ลมมรสุม เป็นลมฟ้าอากาศที่เกิดขึ้นในบริเวณกว้างและยาวนาน และเกิดเป็นฤดูกาล
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (Southwest monsoon) ลม (Wind) ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (Southwest monsoon) หรือมรสุมฤดูร้อน พัดจากมหาสมุทรอินเดียปะทะฝั่งตะวันตกของประเทศไทย เริ่มในช่วงพฤษภาคม ถึงตุลาคม จะนำความชื้นละฝนมาสู่พื้นดิน
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeast monsoon) ลม (Wind) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeast monsoon) หรือมรสุมฤดูหนาว พัดจากทะเลจีนใต้ เริ่มในช่วงตุลาคม ถึงกุมภาพันธ์ จะนำหนาวเย็นมาและความแห้งแล้งมาสู่เส้นศูนย์สูตร
ความชื้นของอากาศ มีผลดีดังนี้ มีผลเสียดังนี้ ช่วยให้เมล็ดพืชงอก เจริญเติบโตได้ดี ความชื้นอากาศต่ำ ทำให้น้ำระเหยได้เร็ว ทำให้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ตากไว้แห้งเร็ว มีผลเสียดังนี้ ทำให้เหล็กเป็นสนิม เชื้อราเจริญเติบโตได้ดี พืชผลทาง การเกษตรเสียหาย
ความชื้นของอากาศ นอกจากนี้เราพบว่า อากาศชื้นและอากาศแห้งที่ปริมาตรเท่ากัน อากาศชื้น จะเบากว่าอากาศแห้ง เพราะว่าไอน้ำมีนำหนักน้อยกว่า โมเลกุลของ ออกซิเจนและไนโตรเจน การตรวจสอบหาความชื้นด้วยสารเคมีบางชนิด ใช้สารโคบอล II คลอไรด์ ถ้ามีความชื้นมากสารจะมีสีชมพู ถ้ามีน้อยจะมีสีน้ำเงินม่วง ถ้าปราศจากความชื้นจะมีสีน้ำเงิน
ความชื้นของอากาศ ความสัมพันธ์ระหว่างอากาศกับไอน้ำ อากาศสามารถรับไอน้ำได้เพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อากาศที่รับไอน้ำได้สูงสุดที่อุณหภูมิหนึ่ง ๆ เรียกว่า “อากาศอยู่ในสภาวะอิ่มตัวด้วยไอน้ำ” ไอน้ำสูงสุดที่อากาศรับไว้ได้เราจะเรียกว่า ปริมาณไอน้ำอิ่มตัว เมื่อปริมาณไอน้ำอากาศมากกว่าปริมาณไอน้ำ อิ่มตัวไอน้ำในอากาศจะควบแน่นเป็นไอ
ความชื้นของอากาศ การบอกความชื้นสามารถบอกได้ 2 วิธี ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute humidity) ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative humidity) ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute humidity) คืออัตราส่วนของมวลของไอน้ำในอากาศกับปริมาตรของอากาศนั้น ๆ ไอน้ำในอากาศ = ของมวลของไอน้ำในอากาศ ปริมาตรของอากาศ หน่วย คือ กรัมต่อลูกบาศก์เมตร
มวลของไอน้ำที่อิ่มตัวด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิ ความชื้นของอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative humidity) คืออัตราส่วนของมวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศกับมวลของไอน้ำเมื่ออากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน ไอน้ำในอากาศ = ของมวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศ X 100 มวลของไอน้ำที่อิ่มตัวด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิ และปริมาตรเดียวกัน หน่วย คือ ไม่มี
ความชื้นของอากาศ ถ้าอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ จะมีความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 100 ในช่วงเช้ามืด อุณหภูมิต่ำ ความชื้นสัมพัทธ์สูง อากาศจึงรับไอน้ำได้น้อย ในช่วงบ่าย อุณหภูมิสูง ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ อากาศจึงรับไอน้ำได้มาก
ความชื้นของอากาศ เครื่องมือที่ใช้วัดความชื้นของอากาศเรียกว่า ไฮกรอมิเตอร์ ไฮกรอมิเตอร์ แบบ กระเปาะเปียก-แห้ง เราเรียกว่า ไซคลอมิเตอร์
ความชื้นของอากาศ ตารางการหาความชื้นสัมพัทธ์จากไซคลอมิเตอร์ เมื่อผลต่างของอุณหภูมิระหว่างกระเปาะเปียก และกระเปาะแห้งเพิ่มขึ้น ความชื้นสัมพัทธ์จะลดลง
ความชื้นของอากาศ ไฮกรอมิเตอร์แบบเส้นผม
ความชื้นของอากาศ ผลของความชื้นสัมพัทธ์ อากาศที่ทำให้เราสบายจะมีความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 60 อากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์สูง ทำให้เหงื่อออกน้อย ทำให้ตัวเหนียว ร้อนและรู้สึกอึดอัด อากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ ทำให้เหงื่อระเหยได้เร็ว ทำให้รู้สึกเย็น ทำให้ผิวแห้งแตก
ความชื้นของอากาศ ผลของความชื้นสัมพัทธ์ อุณหภูมิจุดน้ำค้าง เป็นอุณหภูมิที่มีค่าความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 100 ที่อุณหภูมิน้ำค้างไอน้ำในอากาศจะควบแน่นเป็นละอองน้ำเล็ก ๆ