งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง

2 การพยากรณ์อากาศ สถานีตรวจอากาศ      สถานีตรวจอากาศที่จัดตั้งขึ้นเพื่อทำการตรวจสาระประกอบของอุตุนิยมวิทยานั้น ได้จัดแบ่งไว้ 5 ประเภทดังนี้ 1. สถานีเพื่อการพยากรณ์อากาศ (synoptic stations) หมายถึง สถานีทั้งบนบกหรือในทะเลแบ่ง ย่อยออกเป็นสถานีผิวและสถานีตรวจอากาศชั้นบน 2. สถานีตรวจภูมิอากาศ (Climatogical stations) ได้แก่ สถานีหลัก สถานีธรรมดา สถานีฝนและ สถานีตรวจอากาศเพื่อความมุ่งหมายพิเศษ 3. สถานีตรวจอากาศเกษตร (Agricultural meteological stations) ได้แก่ สถานีหลักสถานี ธรรมดา สถานีช่วยและสถานีตรวจอากาศเพื่อความมุ่งหมายพิเศษ 4. สถานีตรวจอากาศการบิน (Aeronautical meteorological stations) 5. สถานีพิเศษ (Special stations) หมายถึง สถานีที่ทำการตรวจบรรยากาศสถานีเรดาร์ตรวจอากาศ สถานีอุทกวิทยา การตรวจราดิเอชั่น หรือโอโซน การตรวจสาระประกอบอุตุนิยมวิทยา ใกล้พื้นดิน การตรวจสารเคมีในบรรยากาศการตรวจไฟฟ้าในบรรยากาศ

3 การตรวจอากาศจำแนกออกได้ 4 ชนิด
1 การตรวจเพื่อการพยากรณ์ (Synoptic observatons)       การตรวจเพื่อการพยากรณ์จะต้องทำการ ตรวจสารประกอบอุตุนิยมวิทยา ดังต่อไปนี้ คือ 1. ลักษณะอากาศปัจจุบันและที่ผ่านมาแล้ว 2. ทิศทางและความเร็วลม 3. จำนวน ชนิดและความสูงของฐาน 4. ทัศนวิสัย 5. อุณหภูมิอากาศ 6. ความชื้น 7. ความกดของบรรยากาศ

4 สถานีพื้นผิวบนบก จะต้องมีการตรวจสารประกอบอุตุนิยมวิทยาเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้ คือ 1. การเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศ 2. อุณหภูมิสูงสุด - ต่ำสุด 3. จำนวนหยาดน้ำฟ้า 4. ลักษณะของพื้นดิน 5. ทิศทางของเมฆ 6. ปรากฏการณ์ธรรมชาติพิเศษ

5 สถานีที่อยู่ในทะเล กำหนดให้ตรวจสาระประกอบอุตุนิยมวิทยาเพิ่มเติม 1
สถานีที่อยู่ในทะเล กำหนดให้ตรวจสาระประกอบอุตุนิยมวิทยาเพิ่มเติม 1. ทิศทางทางเดินเรือและความเร็วของเรือ 2. อุณหภูมิของน้ำทะเล 3. ทิศทาง ช่วงระยะและความสูงของคลื่น 4. น้ำแข็ง 5. ปรากฏการณ์ธรรมชาติพิเศษ

6 การตรวจอากาศจำแนกออกได้ 4 ชนิด
2. การตรวจภูมิอากาศ (Climatological observations) กำหนดให้สถานีภูมิภาคที่เป็นสถานีหลักทำการตรวจสาระประกอบอุตุนิยมวิทยาเกือบทั้งหมด หรือทั้งหมด ดังต่อไปนี้ คือ 1. ลักษณะลมฟ้าอากาศ 6. ความชื้น 2. ทิศทางและความเร็วของลม 7. ความกดของบรรยากาศ 3. จำนวน ชนิด และความสูงของฐานเมฆ 8. หยาดน้ำฟ้า 4. ทัศนวิสัย หิมะปกคลุม 5. อุณหภูมิอากาศ แสงแดด รวมทั้งอุณหภูมิต่ำสุดและสูงสุด 11. อุณหภูมิใต้ดิน

7 การตรวจอากาศจำแนกออกได้ 4 ชนิด
3 การตรวจอากาศเกษตร (Agricultural meteorological observations)      สาระประกอบอุตุนิยมของการตรวจอากาศเกษตร ที่จำเป็นต้องตรวจหา ได้แก่ 1. อุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่ระดับต่างๆ 2. อุณหภูมิใต้ดิน 3. ความชื้นของดินระดับลึกต่างๆ 4. การผกผันและการคลุกเคล้าของอากาศในระดับต่ำ 5. บรรดาน้ำในบรรยากาศและเหตุสมดุลของความชื้นอื่นๆ 6. แสงแดดและราดิเอชั่น หรือการแผ่รังสี      นอกจากนั้นจะต้องทำการตรวจปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความเจริญงอกงามของผลิตผลของพืชและสัตว์ ความเสียหายเนื่องจากลมฟ้าอากาศและความเสียหายที่เกิดจากเชื้อโรคและแมลงที่  ทำลายพืช

8 การตรวจอากาศจำแนกออกได้ 4 ชนิด
4 การตรวจพิเศษ (Special observations)      การตรวจอากาศ ณ สถานีตรวจพิเศษนี้ขึ้นอยู่กับความมุ่งหมายที่จัดตั้งสถานีนั้นๆ ขึ้นมา เช่น สถานีตรวจเพื่อการณ์พยากรณ์และภูมิภาคที่กำหนดไว้โดยเฉพาะแผนการตรวจต้องรวมถึง 1. ความนานของแสงแดด 2. บันทึกรายงานติดต่อเนื่องจากของจำนวนทั้งหมดของราดิเอชั่น จากดวงอาทิตย์ละท้องฟ้าที่ พื้นผิวราบ 3. การวัดการระเหยของน้ำ

9 การเกิดฝน

10

11

12 ...จบการนำเสนอ... ขอบคุณค่ะ
...จบการนำเสนอ... ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google