สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
Advertisements

ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
กิจกรรมขับเคลื่อน “ วาระชุมชน ”
รูปแบบแผนชุมชน.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ประวัติการศึกษาไทย.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

แนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

วิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 วิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” www.themegallery.com

พันธกิจ 1. สร้างความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ควบคู่กับการสร้างสังคมคุณธรรมเพื่อให้คนกินดีอยู่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปลอดภัยจากอาชญากรรม อุบัติเหตุ ยาเสพติดและอบายมุข คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มีวัฒนธรรมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล www.themegallery.com

2. พัฒนารากฐานการผลิต และบริการให้เข้มแข็งและมีเสถียรภาพบนพื้นฐานความรู้ความสร้างสรรค์ของคนไทย ขยายหลักประกันทางสังคมให้ครอบคลุมประชาชนทุกคนสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน รวมทั้งยารักษาโรคจากสมุนไพรบนพื้นฐานทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพ พร้อมทั้งปรับโครงสร้างสาขาการผลิตและการบริโภคของประเทศให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3. สร้างภูมิคุ้มกันให้เข้มแข็งสามารถป้องกันและรองรับผลกระทบและความเสี่ยงจากวิกฤตเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้และทักษะสามารถรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงอย่างมีเหตุผล

วัตถุประสงค์ 1. คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข และสังคมมีธรรมาภิบาล 2. คน ชุมชน และสังคมมีความพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงและอยู่กับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเป็นสุข 3. เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองมีความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์ ประเทศมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน

เป้าหมายหลัก สังคมไทยมีความสงบสุขอย่างมีธรรมาภิบาล ประชากรไทยทุกคนมีหลักประกันทางสังคมที่มีคุณภาพ โครงสร้างเศรษฐกิจมีความสมดุล เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ www.themegallery.com

4.ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น 5.ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ และคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี

ยุทธศาสตร์การพัฒนา ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์การสร้างสมดุลและความมั่นคงของอาหารและพลังงาน www.themegallery.com

4.ยุทธศาสตร์การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และการสร้างปัจจัยแวดล้อม 5.ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค 6.ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

เศรษฐกิจไทยในเชิงสร้างสรรค์ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ คือ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ การศึกษา การสร้างสรรค์งาน การใช้ทรัพย์สินทางปัญญา ที่มีการเชื่อมโยงกับพื้นฐานของวัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของสังคม และเทคโนโลยีนวัตกรรมสมัยใหม่ มรดกวัฒนธรรมและธรรมชาติ ศิลปะ สื่อ งานสร้างสรรค์และออกแบบ เช่น งานฝีมือและหัตถกรรม/อาหารไทยท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม /การแพทย์แผนไทย ขอบเขตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในประเทศไทย ได้มีการแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม ที่สะท้อนถึงความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทย เช่น ศิลปะการแสดง ทัศนศิลป์ เช่น ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ การกระจายเสียง / การพิมพ์ /ดนตรี เช่น การออกแบบ/สถาปัตยกรรม / แฟชั่น /การโฆษณา

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ # การพัฒนาไปควบคู่กับเศรษฐกิจฐานความรู้ # กำหนดนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ให้ชัดเจนและบูรณาการร่วมกัน # พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สภาพแวดล้อม การคมนาคม ให้มีความสอดคล้องกับความต้องการตลาด และให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก

# ให้คุณค่าต่อทรัพย์สินทางปัญญาจากความคิดสร้างสรรค์ # ขับเคลื่อนและสร้างโอกาสให้กับผู้ประกอบการให้ตรงความต้องการตลาด # ศึกษาวิจัยและพัฒนาเชิงลึก ในสาขาเศรษฐกิจสร้างสรรค์

# ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ # ปรับโครงสร้างให้มุ่งสู่การเป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม # พัฒนาสถาบันและบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์

การรักษาความยั่งยืนทางการคลังและการเงิน กฎกติกาใหม่ของโลก กฎระเบียบทางด้านการค้าและการลงทุน กฎระเบียบทางด้านการเงิน กฎระเบียบทางด้านสิ่งแวดล้อม กฎระเบียบทางด้านสังคม

การเชื่อมโยงเศรษฐกิจไทยกับโลกหลายขั้วอำนาจ 19

การสร้างเศรษฐกิจและสังคมสีเขียว 20

การจัดสถาปัตยกรรมสังคมสำหรับอนาคต ภายใต้แนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง 21 21

การกลับสู่ความสมานฉันท์ภายใต้สัญญาประชาคมใหม่ 22

สัญญาประชาคมใหม่ 23