กลุ่มรวมมิตร (กลุ่ม 3) นายณรงค์ คงมั่น สสจ.ขอนแก่น ประธาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
การจัดการผลการดำเนินงานองค์กร ประธาน นางกัญญา กีรติพงษ์
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การจัดสรรตำแหน่งและการคัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้ารับราชการ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์
Creative Mind กลุ่ม 2.
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มที่ 4 เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร ๕ ข้อ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ประสบการณ์และคุณค่าแห่งการทำงานร่วมกัน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
Good Governance :GG.
กลุ่มที่ 2 Blueprint for Change (BFC). รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 2 1. นิตยา วงศ์เดอรี ประธาน 2. สมคิด จันทมฤก เลขานุการ 3. สีหเดชา กลิ่น หอมหวล 4. ศิธร ปถม.
Blueprint for Change.
กลุ่มที่ 3 Result Based Management : RBM
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
กลุ่มที่ 4.
กลุ่มที่ 5 CPD คิดบวกยกกำลัง 2
กล้วย กล้วย แต่เป็น สับปะรด. แผนงาน - การพัฒนาการสื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กับ สหกรณ์ ปัญหา - สหกรณ์ไม่เข้าใจเอกสารคำแนะนำต่าง.
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์การเกษตร คณะกรรมการ ๑. คุณสายพิณเอี่ยมป๊อก ประธาน ๒. คุณนิภาเลี่ยมสกุลรองประธาน.
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงาน ประเภทสหกรณ์บริการ คณะทำงาน 1. นางอรุณี เมืองกาญจน์ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางรุจิรา ขำพล ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์
กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มรวมมิตร (กลุ่ม 3) นายณรงค์ คงมั่น สสจ.ขอนแก่น ประธาน กลุ่มรวมมิตร (กลุ่ม 3) นายณรงค์ คงมั่น สสจ.ขอนแก่น ประธาน นายนิติ ดาราหะ สสจ.ปัตตานี นายปกาศิต สมาธิ สสจ.ตรัง นายมนุชาธิป วรกาญจนานนท์ สสจ.สงขลา น.ส.ประภาพรรณ นรินทร์นอก สสจ.นครราชสีมา นางศิริวรรณ ศรีนุต สสจ.บุรีรัมย์ น.ส.กาญจนา ยะถา สสจ.เชียงใหม่ นายจิตรธวัช จันทรรินทร์ สสจ.นครพนม นางเพ็กน้อย นพเคราะห์ สสจ.มุกดาหาร นายสุทยุต พูลสมบัติ สสจ.ภูเก็ต เลขานุการ

ปัญหา 5.การทำงานไม่มีขั้นตอนกระบวนการเลย ควรปรับปรุง 6.ล่าช้า ขั้นตอนมาก ซับซ้อนการพิจารณาเงินกู้ล่าช้า มีเงื่อนไขมาก ในการกู้เงิน... เซนต์ค้ำประกันผิดบ่อยๆ กว่าจะถูก ก็ไม่ทันกับการใส่ปุ๋ย 10.เอกสารแนะนำต่างๆไม่เข้าใจ 17.บางครั้งสหกรณ์จัดทำเอกสารส่งมาแล้ว แต่เจ้าหน้าที่ละเลย 28.ติดต่อยาก เจ้าหน้าที่ควรจะมีความรู้มากกว่านี้ 43.ไม่สามารถหาแหล่งเงินทุนในสหกรณ์ 44.ไม่พอใจในการลดขั้นตอนขอกู้/เพิ่มระยะเวลากู้ยืม/เอกสารที่ใช้เปลี่ยนแปลงบ่อย 45.จำนวนเงินที่ให้กู้มีไม่เพียงพอและควรเพิ่มวงเงินกู้

Action Plan การส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าสู่แหล่งทุน แผนงาน หลักการปฏิบัติ ระยะเวลา โดย การส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าสู่แหล่งทุน 1. วิเคราะห์แหล่งทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ความเข้าใจการเข้าถึงแหล่งทุนภายในและทุนภายนอก 3. ชี้แจงขั้นตอนการเข้าถึงแหล่งทุนภายนอก (การกู้) ต.ค.55-ก.ย.56 สสจ.

ปัญหา 1. ไม่พอใจที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ไม่สนใจในหน้าที่รับผิดชอบ 2. 96 ปีแล้ว แต่คุณภาพด้อยกว่าหน่วยงานอื่น 3. เป็นข้าราชการมากไป 22.รู้จักกันในจังหวัดแต่ความสัมพันธ์ไม่มีเหมือนก่อนๆ 23. คำว่าหน่วยงานกรมส่งเสริมสหกรณ์สำหรับจังหวัด ไม่ค่อยดี ไม่ค่อยใส่ใจ สหกรณ์เหมือนต่างคนต่างอยู่ เหมือนไม่มีบทบาทกับสหกรณ์และสมาชิกเท่าใดนัก ขอความช่วยเหลือได้น้อยมากปล่อยปะละเลย ไม่สนใจติดตามรู้สึกห่างเหิน เหมือนสหกรณ์อยู่คนเดียวโดยไม่มีที่ปรึกษา 25. จุดด้อยบุคลากรสหกรณ์ยังไม่เพียงพอต่อการขอให้เข้ามาดูแลสหกรณ์ เจ้าหน้าที่น้อย ทำให้ไม่ทันต่องานเร่งด่วน ที่เกิดผลเสียกับสหกรณ์ 31. ไม่มีจุดเด่นใดๆถ้าไม่พัฒนาองค์ความรู้เจ้าหน้าที่ และเพิ่มความสามารถของเจ้าหน้าที่ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเพราะปัจจุบันสมาชิกของสหกรณ์มีการศึกษาและมีความรู้ประสบการณ์มากกว่า 32. หน่วยงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์มุ่งสนับสนุนแต่สหกรณ์ที่ประสบผลสำเร็จ ส่วนสหกรณ์ที่มีปัญหา หรือเกิดปัญหาจะเข้ามาในช่วงแรกๆแต่เมื่อให้แก้ปัญหากลับทำแบบขอไปที ไม่มีการแก้ปัญหาอย่างจริงๆจังๆ

Action Plan พัฒนาสหกรณ์เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง ต.ค.55-ก.ย.56 แผนงาน หลักการปฏิบัติ ระยะเวลา โดย พัฒนาสหกรณ์เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง 1. เสวนาเครือข่ายเพื่อละลายพฤติกรรม 2. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ประกอบด้วย -ฝ่ายบริหารสหกรณ์ 5 คน -ฝ่ายจัดการสหกรณ์ 5 คน -ส่วนราชการ (สนง.สหกรณ์จังหวัด 3 คน สนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ 2 คน - ที่ปรึกษา (สกจ. ธกส.) 3. อภิปราย เพื่อหาแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ 4. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัดเพื่อติดตาม 4 ครั้ง/ปี เพื่อปรับปรุงหรือพัฒนาต่อไป ต.ค.55-ก.ย.56 สสจ.

ปัญหา 10. เอกสารแนะนำต่างๆไม่เข้าใจ 15. การแนะนำติดต่อควรให้มีการรอบคอบทันต่อการทำงาน 16. ไม่อยากให้เน้นทฤษฎีมากเกินไป ให้คำนึงถึงความเป็นไปได้มากกว่า 23. คำว่าหน่วยงานกรมส่งเสริมสหกรณ์สำหรับจังหวัด ไม่ค่อยดี ไม่ค่อยใส่ใจ สหกรณ์เหมือนต่างคนต่างอยู่ เหมือนไม่มีบทบาทกับสหกรณ์และสมาชิกเท่าใดนัก ขอความช่วยเหลือได้น้อยมากปล่อยปะละเลย ไม่สนใจติดตามรู้สึกห่างเหิน เหมือนสหกรณ์อยู่คนเดียวโดยไม่มีที่ปรึกษา 24. คำวินิจฉัยบางครั้งไม่ระบุชัดเจนการปฏิบัติ 28. ติดต่อยาก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ควรมีความรู้มากกว่านี้ 31. ไม่มีจุดเด่นใดๆถ้าไม่พัฒนาองค์ความรู้เจ้าหน้าที่ และเพิ่มความสามารถของเจ้าหน้าที่ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเพราะปัจจุบันสมาชิกของสหกรณ์มีการศึกษาและมีความรู้ประสบการณ์มากกว่า 34. ควรปรับปรุงบุคลากรของจังหวัด ขาดประสบการณ์ ไม่มีความรู้ด้านสหกรณ์

Action Plan ต.ค.55-ก.ย.56 สสจ. แผนงาน หลักการปฏิบัติ ระยะเวลา โดย การจัดการความรู้ “การส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร” 1. แต่งตั้งคณะทำงาน KM 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรวบความรู้จากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่มีความรู้และประสบการณ์ 3. จัดทำรูปเล่ม “แนวทางการส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร” ต.ค.55-ก.ย.56 สสจ.