สาระสำคัญในแผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2504 - 2509 เน้นการขยายสถานบริการ ให้เป็นบริการพื้นฐาน ในการพัฒนาประเทศ
เร่งรัดผลิตบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ขยายขอบเขตการบริการสู่ชนบท ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2510 - 2514 เร่งรัดผลิตบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ขยายขอบเขตการบริการสู่ชนบท 2508 บังคับให้ นักศึกษาแพทย์ทำสัญญาใช้ทุน
ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2515 - 2519 เน้นงานอนามัยแม่และเด็ก วางแผนครอบครัว ควบคุมโรคติดต่อ ปรับปรุงและขยายบริการรักษา อนามัยสิ่งแวดล้อม 2518 ให้บริการรักษาฟรี ผู้มีรายได้น้อย
ให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสาน แก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2520 - 2524 ให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสาน แก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข ตั้งเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้า ใน ปี 2543 ด้วยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐาน (2522)
ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525 - 2529 ตั้งโรงพยาบาลให้ครบทุกอำเภอ ประชาชนมีส่วนร่วมในการสาธารณสุขมูลฐาน ยกฐานะสำนักงานผดุงครรภ์ เป็นสถานีอนามัยทั้งหมด ตั้งเป้าหมายทางสังคมระยะยาว (20 ปี สุขภาพดีถ้วนหน้า)
ยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530 -2534 ขยายสถานบริการ ยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา รณรงค์ควบคุมเอดส์เพื่อไม่ให้กระทบความมั่นคง เริ่มแนวคิดหลักประกันสุขภาพ
ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535 - 2539 พัฒนาสถานีอนามัย สถานบริการสาธารณสุข ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เน้นการสร้างหลักประกันสุขภาพ แก้ปัญหาขาดแคลนบุคลากรที่ลาออก พัฒนาคุณภาพบริการ
โดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพ การครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 - 2544 พัฒนาศักยภาพคน โดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพ การครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ ด้วยการบริการที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ พัฒนา อุตสาหกรรมด้านสาธารณสุข
ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545 - 2549 เน้นการมีหลักประกันถ้วนหน้า พัฒนาคุณภาพบริการ ใช้แนวทางการบริหารพัฒนาในเชิงยุทธศาสตร์ พัฒนาปัจจัยพื้นฐานของการมีสุขภาพดี การสร้างสุขภาพ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็งประชาคมสุขภาพ พัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี พัฒนาการบริการจัดการกำลังคน พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ