หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
การติดต่อสื่อสาร.
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
เสียงตามสายเพื่อการศึกษา
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
เทคนิคการประชาสัมพันธ์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
โครงงาน: ฉันหลงทาง 我迷路了
สรุปผลรวมของการเรียนรู้
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
ครูบุญชัย กัณตวิสิฐ โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม จังหวัดกำแพงเพชร
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของการเรียนรู้
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
การสื่อสารข้อมูล.
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
« อาจารย์มนัสสินี บุญทำดี
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
แบบจำลองการสื่อสาร Communication Model.
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อ วิทยุโทรทัศน์
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
การสื่อสารมวลชน Mass Communication
สื่อการเรียนการสอน.
รายวิชา GEL1101 การใช้ภาษาไทย ช่วงที่ 1 นำเสนอโครงงาน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Print media for Advertising & Public Relations
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
การพูด.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
กระบวนการดำเนินการประชาสัมพันธ์
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การนำเสนอสารด้วยวาจา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
By ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีระ พันลูกท้าว
รหัสวิชา ศิลปกรรมกับการสื่อสาร Fine and Applied Arts and Communication
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร

วัตถุประสงค์การเรียน เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับการสื่อสาร ลักษณะของภาษาในการสื่อสาร เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน และลักษณะของภาษาทางนิเทศศาสตร์

- เป็นสื่อกลางสำหรับส่งผ่านหรือกำหนดความคิดของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร ความหมายของภาษา - เป็นสิ่งที่ถูกกำหนดขึ้นแทนมโนภาพ ต่าง ๆ ในความคิดของผู้สื่อสาร - เป็นสื่อกลางสำหรับส่งผ่านหรือกำหนดความคิดของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร

ความหมายของการสื่อสาร การสื่อสารคือกระบวนการของการถ่ายทอดสาร (message) จากบุคคลฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่าผู้ส่งสาร ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผู้รับสาร (receiver) โดยผ่านสื่อ (channel)

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับการสื่อสาร ภาษาเป็นพาหะให้เนื้อหาของสารเกาะเกี่ยวจากผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสาร ผู้ส่งสารใช้ภาษาเพื่อแสดงความคิดและผู้รับสารใช้ภาษาเพื่อเข้าใจความคิดนั้น

แบบจำลองกระบวนการสื่อสาร SMCR MODEL

ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร ผู้ส่งสาร (sender) - ทักษะในการสื่อสาร (communication skills) - ทัศนคติ (attitudes) - ความรู้ (knowledge)

- ระบบสังคม (social system) - วัฒนธรรม (culture)

ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร สาร (Message) - รหัส (code) - เนื้อหา (content) - การจัดสาร (treatment)

ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร สื่อ (Channel) - การเห็น (seeing) - การได้ยิน (hearing) - การสัมผัส (touching) - การได้กลิ่น (smelling) - การลิ้มรส (tasting)

ปัจจัยสร้างความสำเร็จในการสื่อสาร ผู้รับสาร (receiver) - ทักษะในการสื่อสาร (communication skills) - ทัศนคติ (attitudes) - ความรู้ (knowledge)

- ระบบสังคม (social system) - วัฒนธรรม (culture)

ลักษณะของภาษาในการสื่อสาร วัจนภาษา (Verbal Language) - คำพูดหรือตัวอักษรที่กำหนดตกลงใช้ร่วมกันในสังคม - เสียง ลายลักษณ์อักษร - ภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบมีหลักเกณฑ์ทางภาษาหรือไวยากรณ์

อวัจนภาษา (Non-verbal Language) หมายถึง สัญลักษณ์ รหัสที่ไม่ใช่ตัวอักษร คำพูด (แต่เป็นคำพูดที่เข้าใจร่วมกันเฉพาะ ผู้ส่งสาร – ผู้รับสาร)

ความหมายของการสื่อสารมวลชน การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) หมายถึง การส่งสารไปยังผู้รับสารมวลชนจำนวนมากในเวลาเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน โดยที่ผู้รับสารแต่ละคนอยู่ในที่ต่าง ๆ กัน ผ่านสื่อมวลชน (mass media)ได้แก่หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น

ความสำคัญของภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน ภาษามีความสำคัญต่อการสื่อสารมวลชน ในฐานะที่ภาษาเป็นพาหะเพื่อให้สถาบันการสื่อสารมวลชนสามารถทำบทบาทหน้าที่ทางสังคมได้

บทบาทหน้าที่ทางสังคม ของสถาบันการสื่อสารมวลชน 1. การให้ข้อมูลข่าวสาร 2. การประสานส่วนต่าง ๆ ของสังคมเข้าด้วยกัน 3. การสร้างความต่อเนื่องทางสังคม 4. การให้ความเพลิดเพลินแก่สมาชิกสังคม 5. การรณรงค์ทางสังคม การเมือง และ เศรษฐกิจ

ลักษณะของภาษาทางนิเทศศาสตร์ 1. เทคโนโลยีด้านระบบการสื่อสารและภาษาดิจิตอล 2. เทคโนโลยีสื่อสาร (media technology) และภาษาของช่องทางสื่อ (media channel) 3. ภาษาของรูปแบบสื่อ (media form)

การใช้ภาษาตามหลักนิเทศศาสตร์ การใช้ภาษาตามหลักนิเทศศาสตร์  1. ความกระจ่างชัดของภาษา  2. การใช้ภาษาที่ทำให้ผู้ฟังเกิดภาพได้   3. ใช้การย้ำคำเพื่อสร้างจุดเด่น  4. ความเหมาะสมของการใช้ภาษา  

คำถามหน่วยที่ 1  1. ภาษากับการสื่อสารมีความสัมพันธ์กันอย่างไร 2. ภาษาในการสื่อสารมีลักษณะอย่างไรบ้าง 3. ภาษาทางนิเทศศาสตร์มีลักษณะสำคัญอย่างไร

งานกลุ่ม ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 6 คน (มี 5 คน 1 กลุ่ม) เขียนรายชื่อสมาชิกในกลุ่มส่ง

ลักษณะของงาน ประวัติและวิวัฒนาการสื่อแต่ละประเภท ประเภทของสื่อแต่ละประเภท กรณีศึกษา “การใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมในสื่อแต่ละประเภท” สื่อแต่ละประเภท ได้แก่ หนังสือพิมพ์ , นิตยสาร , การ์ตูน , วิทยุ , โทรทัศน์ , ภาพยนตร์ , มิวสิควิดีโอ , โฆษณา

กิจกรรมในชั้นเรียน กลุ่มที่ได้รับมอบหมายนำเสนองานในแต่ละสัปดาห์ เพื่อนในชั้นเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น พร้อมนำเสนอตัวอย่างที่ตัวเองไปศึกษามา