บรรณารักษชำนาญการพิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Advertisements

Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) แผนกฝึกอบรม.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
ฐานข้อมูลสิทธิบัตรทั่วโลก (ไทย)
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
การยืมหนังสือด้วยตัวเอง (Self-Checkout)
ฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย...ปราณีย์ อนุศาสนนันท์ บรรณารักษ์
การใช้งานเครื่องถ่าย
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุ่งล่าสุด 12/5/2009.
1 โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์ แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย ธีรวัฒน์ พุฒิสกุลวงศ์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการตรวจสอบฐานข้อมูล
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด 07/11/50.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
จดหมายเวียน (Mail Merge)
SCC : Suthida Chaichomchuen
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 23/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
โปรแกรม Microsoft Access
การสืบค้น ฐานข้อมูล กลุ่มงานบริการสารสนเทศ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การบันทึกรายการสินทรัพย์
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
Sticker House .บ่งบอกตำแหน่ง House ของ Shelf และแต่ละ Zone จะมีจำนวน House ไม่เท่ากัน .แต่ละ Zone ขนาด Sticker จะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความหนาของแผ่นพื้น.
Install Driver Token Key
1 ความลึกซึ้งของข้อมูล ข้อมูลแต่ละหัวข้อ (item) – มี หรือ ใช้ หลักทฤษฎีใด มาสนับสนุน – อ้างอิง จากแหล่งใด (คน สถานที่ เวลา) เว้นแต่ ข้อมูลซึ่งโดยปกติสามัญ.
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
เทคนิคการสืบค้น Google
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
รายละเอียดของ Print Screen หน้าจอสังเกตการณ์ ของคณะกรรมการประกวดราคา (โปรแกรม CAT e-auction โลโก้ใหม่)
ProQuest Nursing & Allied Health Source
Microsoft Word MailMerge
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
E-Sarabun.
โปรแกรม Microsoft Access
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
การตั้งค่า Mouse จัดทำโดย นายนรินทร์ เรือนคำ เลขที่ 13
การตั้งค่า Mouse.
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
IngentaConnect.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
Dissertation Full text เป็นการ สืบค้นด้วยระบบ IR-Web โดยมีขอบเขต เนื้อหา เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม อิเล็กทรอนิกส์ 3,850 ชื่อเรื่อง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา.
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
Introduction EndNote เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้นและถ่ายโอน (Import) ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง.
การสร้างเมนูเข้าสู่บทความ. เป็นการสร้างเมนูเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทความที่ สร้างไว้ภายในเว็บไซต์ ซึ่งสามารถสร้างเมนูได้ ดังนี้ – การสร้างเมนูเข้าสู่บทความที่ถูกพักการใช้งาน.
การลงระเบียนรายการบรรณานุกรมวารสาร สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรณารักษชำนาญการพิเศษ การลงรายการ ป้ายระเบียน (Leader) โดย..ประนอม นามษร บรรณารักษชำนาญการพิเศษ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ป้ายระเบียน (Leader) ป้ายระเบียน คือ ส่วนของข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ประกอบด้วย ตัวเลข และรหัส ที่อยู่ในตำแหน่งต่างๆ ป้ายระเบียนนี้เป็นส่วนที่มีความยาวคงที่ 24 ตำแหน่ง และเป็นเขตข้อมูลแรกของระเบียนบรรณานุกรม

การลงรายการป้ายระเบียน การลงรายการของ Leader ระบบจะกำหนดมาให้แล้วบางตำแหน่ง เมื่อบันทึกรายการลงในฐานข้อมูลตามลำดับของเขต ข้อมูลในแผ่นงานครบแล้ว กดบันทึก (save) ระเบียนบรรณานุกรมจะปรากฏเขตข้อมูล

MARC Leader เพิ่มขึ้นมา ให้ลงรายการตามลำดับ ตำแหน่ง 00-23 มีความยาวคงที่ 24 ตัว ดังนี้

ให้ใส่ b (blank) ตำแหน่งที่ไม่ใช้หรือไม่มีการกำหนด หน้าจอแสดงรายการ MARC Leader

-ตำแหน่งที่ 00-04 Logical record Length เป็นส่วนที่ระบุความยาวของอักขระทั้งหมดของระเบียนเป็นตัวเลข 5 หลัก ซึ่งระบบกำหนดให้เป็นเครื่องหมาย # 5 ตำแหน่ง คือ #####

เป็นส่วนที่บอกสถานภาพของระเบียน - ตำแหน่งที่ 05 Record status เป็นส่วนที่บอกสถานภาพของระเบียน ประกอบด้วยรหัสที่เป็นอักษร 1 ตัว ซึ่งแสดงถึงความสัมพันธ์ของระเบียนกับแฟ้มข้อมูล ระบบกำหนดไว้ให้แล้ว คือ n = New หมายถึง ระเบียนใหม่

หน้าจอรายการตำแหน่งที่ 05 Record status

- ตำแหน่งที่ 06 Type of record เป็นตำแหน่งที่ใช้บันทึกรหัส 1 ตัวอักษร ที่แยกความแตกต่างของประเภทของระเบียน MARC 21 ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ/เอกสาร แผนที โสตทัศนวัสดุ เป็นต้น

รหัสสำหรับหนังสือ/เอกสารใช้รหัส a ซึ่งระบบกำหนดไว้ให้แล้ว คือ a = Language material หมายถึง ระเบียนบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ถ่ายทอดโดยภาษาในการสื่อสาร

หน้าจอรายการตำแหน่งที่ 05 Record status

หรือดับเบิลคลิกตรงตำแหน่งที่ 07 BIB LEVL จะปรากฏรหัสให้เลือกรายการ - ตำแหน่งที่ 07 Bibliographic level เป็นรหัสอักษร 1 ตัว ที่บอกถึงระดับบรรณานุกรม m = Monograph/item การลงรายการบรรณานุกรมที่มีเนื้อหาเดียว คือหนังสือ หรือดับเบิลคลิกตรงตำแหน่งที่ 07 BIB LEVL จะปรากฏรหัสให้เลือกรายการ

หน้าจอรายการตำแหน่งที่ 07 Bibliographic level

- ตำแหน่งที่ 08 Type of control เป็นตำแหน่งที่ระบุประเภทของการควบคุมเอกสาร ให้ลงรหัสระบุประเภทของการควบคุมเอกสาร ระบบกำหนดไว้ให้ เป็น b คือ ไม่ระบุประเภทของการควบคุมเอกสารที่กำลังทำรายการ

- ตำแหน่งที่ 09 Character coding scheme เป็นรหัส 1 ตัวที่บอกผังรหัสอักขระที่ เป็นรหัสสากล (Unicode) ให้ใส่ a = UCS/Unicode (เป็นรหัสอักขระที่ได้จาก Universal Coded Character Set (UCS) (ISO10646) หรือ Unicode

หน้าจอรายการตำแหน่งที่ 09 หน้าจอรายการ Character coding

ใน MARC 21 จะกำหนดให้ 2 ตำแหน่งแรก - ตำแหน่งที่ 10 Indicator count เป็นตำแหน่งที่บอกจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละเขตข้อมูล ใน MARC 21 จะกำหนดให้ 2 ตำแหน่งแรก ของเขตข้อมูลเป็นตัวบ่งชี้ ฉะนั้นข้อมูลในตำแหน่งนี้ ระบบกำหนดไว้ให้เป็น 2 เสมอ

ตัวเล็กหรือตัวเลข ระบบจึงกำหนดไว้ให้เป็น 2 เสมอ -ตำแหน่งที่ 11 Subfield code count เป็นตำแหน่งที่บอกถึงจำนวนของรหัสเขตข้อมูลย่อย ใน MARC 21 รหัสแสดงเขตข้อมูลย่อยประกอบด้วย เครื่องหมาย # และอักษร ตัวเล็กหรือตัวเลข ระบบจึงกำหนดไว้ให้เป็น 2 เสมอ

- ตำแหน่งที่ 12-16 Base address of data เป็นรหัสบอกตำแหน่งที่อยู่ของอักขระ ตัวแรกของเขตข้อมูลควบคุมเขตแรกรวมกับ เครื่องหมายท้ายสุดของนามานุกรมเขตข้อมูล เป็นตัวเลข 5 หลัก ระบบกำหนดไว้ให้เป็นเครื่องหมาย # คือ #####

- ตำแหน่งที่ 17 Encoding level เป็น รหัสบอกถึงระดับความสมบูรณ์ของการ ลงรายการบรรณานุกรม รหัสนี้อาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษร 1 ตัว ให้ใส่ I = OCLC-Full-Level input by participant

หน้าจอรายการตำแหน่งที่ 17 Encoding level

- ตำแหน่งที่ 18 Descriptive cataloging form เป็นรหัส 1 ตัว รหัสอาจเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้ เพื่อบอกว่าระเบียนนั้นลงรายการตามหลักเกณฑ์ใด ระบบกำหนดเป็นรหัส a = AACR2 หมายถึงการลงรายการตามหลักเกณฑ์การลงรายการตามกฏ AACR2 และคู่มือการลงรายการที่อิง AACR2 เครื่องหมายต่าง ๆ ใช้ตาม ISBD

หน้าจอรายการตำแหน่งที่ 18 Descriptive cataloging

- ตำแหน่งที่ 19 Linked record requirement เป็นรหัสที่บอกให้ทราบว่าหมายเหตุที่อยู่ในเขตข้อมูลเชื่อมโยง สามารถนำไปใช้ได้ โดยไม่ต้องเข้าถึงระเบียนจริงที่เกี่ยวข้องหรือไม่ กำหนดไว้ให้เป็น b (Related record not required)

ตำแหน่งที่ 20 Length of the length-of field portion เป็นตำแหน่งที่ระบุความยาวของเขตข้อมูล มีทั้งหมด 4 หลัก ระบบกำหนดไว้ให้แล้ว เป็น 4 หมายถึง ความยาวของความยาวของ เขตข้อมูลคือ 4

- ตำแหน่งที่ 21 Length of the implementation defined portion เป็นตำแหน่งที่ระบุความยาวของตำแหน่งที่เริ่มต้นของเขตข้อมูลที่ระบุในนามานุกรมเขตข้อมูล ซึ่งมีทั้งหมด 5 หลัก ดังนั้นความยาวของตำแหน่งเริ่มต้น จึงเป็น 5 ระบบกำหนดไว้ให้แล้ว

ตำแหน่งที่ 22 Length of the implementation-defined portion ใน MARC 21 นามานุกรมเขตข้อมูลไม่มีส่วนของตำเหน่งที่กำหนดการติดตั้ง จึงใช้เป็นเลข 0 ระบบกำหนดไว้ให้แล้วเป็น 0

- ตำแหน่งที่ 23 Undefined ยังไม่มีการ กำหนดใช้รหัส ระบบกำหนดไว้ให้แล้วเป็น 0 เมื่อลงบันทึกรายการครบทุกรายการแล้วกด Ctrl + R จากนั้นเลือกปุ่ม save เพื่อบันทึกรายการอีกครั้ง

????? สวัสดี..