อาจารย์ ดร.ฉัตร สุจินดา มหาวิทยาลัยศรีปทุม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
ดนตรีไทยวงเครื่องสายบนโทรศัพท์มือถือ Siam String Musical on Mobile
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อแนะนำในการนำเสนอโครงการ
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
ข้อเสนอแนะ สังเขป สำหรับ การเตรียมจัดทำ
การวิเคราะห์ความมั่นคงของโครงสร้างหิน
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ข้อแนะนำในการนำเสนอโครงการ
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
ADDIE model หลักการออกแบบของ
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
ระบบควบคุมวัตถุเสมือน Augmented Reality Object Manipulation System
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
Programs Computer CAD/CAM Company Logo.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
การจำลองความคิด
Management Information Systems
Lab 2: การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์
(Sensitivity Analysis)
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การออกแบบการวิจัย.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
นายภาณุพงษ์ คงคาวงศ์ประทีป
การเสนอโครงการวิจัย.
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
Magnetic Particle Testing
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
โครงงานสื่อเพื่อการศึกษาอาหารนานาชาติ
การประกันคุณภาพ ระดับสถาบันอุดมศึกษา. สมาชิก นพ. พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ (ผู้จัดการ) อ. สุภัทรา โกไศยกานนท์ (รองผู้จัดการ) ผศ. ดร. สุรสิทธิ์ วชิรขจร (รองผู้จัดการ)
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ ดร.ฉัตร สุจินดา มหาวิทยาลัยศรีปทุม การเปรียบเทียบผลการออกแบบพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรงด้วยวิธีโครงข้อแข็งเสมือนสองมิติและ วิธีไฟไนท์อิลิเมนต์แบบแผ่นสามมิติ อาจารย์ ดร.ฉัตร สุจินดา มหาวิทยาลัยศรีปทุม

การวิเคราะห์-ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรง Equivalent Frame Method (EFM) ACI318-05 หัวข้อ 13.7 มองโครงสร้างที่เป็น 3 มิติ ให้เป็น 2 มิติ สร้างแบบจำลองแยกกันในแต่ละแนวของเสา สร้างแบบจำลองแยกกันในแต่ละทิศทางของการถ่ายแรง แนว เหนือ-ใต้ ของแปลน แนว ตะวันออก-ตะวันตก ของแปลน โปรแกรม Adapt PT 7.0 และโปรแกรมอื่น ๆ

การวิเคราะห์-ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรง วิธี 3D Plate Finite Element มองโครงสร้าง 3 มิติ เป็น 3 มิติตามจริง สร้างแบบจำลองรวมเป็นชิ้นเดียวกันทั้งชิ้น ได้ Moment ของการถ่ายแรงทั้งสองทิศทาง Mx, My, Mxy คำนวณ Stress ได้จาก Moment Mx, My, Mxy โปรแกรม Adapt Floor Pro, RAM Comcept

เปรียบเทียบการวิเคราะห์แบบ 2D กับ 3D

การเปรียบเทียบกรณีควบคุม

กรณี A

กรณี A

กรณี B

กรณี B

กรณี C

กรณี C

กรณี D

กรณี D

กรณี E

กรณี E

กรณี F

กรณี F

สรุป สำหรับกรณี A ซึ่งเป็นการแปรเปลี่ยนความกว้างของแถบของการออกแบบ ค่าหน่วยแรงจากวิธีทั้งสองมีค่าใกล้เคียงกันมากตลอดช่วงของการแปรเปลี่ยน ซึ่งเป็นการยืนยันว่าในกรณีทั่วไปที่มีการจัดเรียงเสาอย่างเป็นระเบียบ คำตอบของสองวิธีควรจะมีค่าใกล้เคียงกัน สำหรับกรณี B ถึง F เป็นการทดลองแปรเปลี่ยนตำแหน่งของเสาในแถบของการออกแบบให้แตกต่างไปจากแถบข้างเคียง ซึ่งจะมีผลทำให้ผลของการวิเคราะห์แบบสามมิติ แตกต่างไปจากแบบสองมิติ หน่วยแรงที่วิเคราะห์ได้จาก วิธีไฟไนท์อิลิเมนต์สามมิติ (FEM 3D) มีค่าน้อยกว่าวิธีโครงข้อแข็งเสมือน ซี่งเป็นวิธีแบบสองมิติ (EFM 2D) สำหรับทุก ๆ กรณี

สรุป (ต่อ) ในกรณีที่การจัดเรียงของเสาไม่อยู่ในแนวที่ตั้งฉากกัน หากเป็นไปได้จึงควรใช้วิธีไฟไนท์อิลิเมนต์สามมิติ (FEM 3D) มากกว่าวิธีโครงข้อแข็งสองมิติ (EFM 2D) แต่หากไม่มีโปรแกรมที่ใช้วิธีไฟไนท์อิลิเมนต์สามมิติ เช่น Adapt Floor Pro หรือ RAM Concept แล้ว การออกแบบโดยใช้วิธีโครงข้อแข็งสองมิติเช่น Adapt PT ก็ให้ค่าหน่วยแรงที่ Conservative ซึ่งเป็นวิธีที่ยอมรับได้ ในกรณีที่การจัดเรียงของเสาอยู่ในแนวที่ตั้งฉากกัน วิธีโครงข้อแข็งสองมิติจะให้คำตอบใกล้เคียงกับวิธีไฟไนท์อิลิเมนต์สามมิติ ซึ่งสำหรับกรณีนี้วิธีโครงข้อแข็งสองมิติน่าจะใช้เวลาในการเตรียมข้อมูลน้อยกว่า