นำเสนอการอ่านหนังสือวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2554 ผู้นำเสนอ อาจารย์ณัฐพร อิฐสุวรรณ กัง คณะศิลปศาสตร์
Health and Wellness tourism, (2009), Melanie Smith and Laszlo Puczko
Contents Part 1 : History, definitions, and scope Part 2 : Managing and marketing health and wellness tourism Part 3 : Operational and management issues Case studies
Definition of “Health Tourism” “…staying away from home, health as the most important motive, and done in a leisure setting” (Van Spielen, 1992) Sun and fun activities, engaging in healthy activities, principle motive for travel is health, travel for sauna, massage, and other health activities, medical treatment.
Wellness Tourism “ … a state of complete physical, mental, and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity” (World Health Organization) This state corresponds much more closely to happiness than to health.
History Dating back as far as 5000 BC, Ayurveda (อายุรเวท ‘Ayush‘ หมายถึงชีวิต และ'Veda'ซึ่งหมายถึงความรู้ Ayurveda"ศาสตร์แห่งชีวิต"หรือ"ภูมิ ปัญญาของชีวิต deals"กับธรรมชาติและรวมถึงทุกด้านของชีวิต) was being practiced in India. The first know use of Chinese medicine in 1000 BC The magical healing water was known from 1700 BC Ancient Egyptian introduced the use of bathing and cosmetics Greek and Roman built the thermal and medical baths In 737 AD, the first Japanese Onsen was opened.
Changes in Women Spending patterns Twenty years ago, Money was spent on.. One holiday a year to close destinations Eating out infrequently Basic food Bottle of sweet European wine Quick-fix slimming food Mass-market chocolate once a week Basic clothes and toys for child Today, Money is spent on… Several holidays a year, including long haul destinations Meals out in restaurants Luxury ready meals Dry “new world” wines Diet products and gym membership Premium brand chocolate Designer clothes and toys “Me” items such as spa days, beauty treatment, jewelry and perfume
A spectrum of Health Tourism Physical Healing Beauty Treatments Relaxation/ Rest Leisure/ Entertain ment Life/ Work Balance Psychologi cal Spiritual Medical Spas/ baths Surgery trips Rehabilitation retreats Cosmetic surgery trips Hotel/ day spas Pampering spas/ baths Spa resort with fun waters Sport/ fitness holidays Holistic centers Occupational wellness workshops workshop Meditation retreats Yoga centers pilgrimages
Typologies of health and wellness tourism
Spa tourism Tourism which focuses on the relaxation or healing of the body using mainly water-based treatment; such as mineral or thermal pool, Steam rooms, and saunas. Emphasis tends to be focused on curing, rehabilitating, or resting the body. Club spa Day spa Hotel spa Resort spa
Thalasso tourism Tourism that provides attractions by and services based on the sea, water, algae, and salt all used in the products Thalasso Therapy คือการบำบัดรักษาสุขภาพและดูแลผิวด้วยสารสกัดจากทะเล น้ำ จากใต้ท้องทะเลลึก 100% โดยมี Marine Ion ที่มีแร่ธาตุกว่า 80 ชนิด ให้ประสิทธิภาพส่งความชุ่มชื้น ไปสู่เซลล์ผิวชั้นในสุด และซึมซาบลึกสู่ผิวได้อย่างรวดเร็ว สาหร่ายทะเลสีน้ำตาล ควบคุมการทำงานของผิวในการดึงดูด เก็บกัก และปรับสมดุลความชุ่มชื้นของผิว เกลือทะเล ช่วยกระตุ้นการผลัดเปลี่ยนเซลล์ผิวเพื่อป้องกันความหย่อนคล้อย และชะลอการเกิดริ้วรอย พร้อมให้ความชุ่มชื้นแก่ผิว
Holistic tourism Tourism that provide the visitors with a range of activities or treatments which are aimed at balancing the body-mind-spirit. การดูแลสุขภาพ แบบองค์รวม เป็นการดูแลสุขภาพที่มีการบูรณาการความรู้ดั้งเดิมเข้ากับการ บำบัดเสริม เพื่อส่งเสริมให้เกิดสุขภาวะที่ดี และป้องกันรักษาโรค สุขภาวะ (Well-Being) คือการมีสุขภาพดี มีความรู้สึกเป็นสุข ความสมดุล สุขภาวะทางจิตใจ (Mental Health) หมายถึง จิตใจที่มีความสุข รื่นเริง คล่องแคล่ว ไม่มีความเครียด สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางร่างกาย (Physical Health) หมายถึง ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง คล่องแคล่ว มีกำลัง ไม่เป็นโรค สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางสังคม (Social Health) หมายถึง ความสามารถในการอยู่ร่วมกันในสังคม มีความสุข สันติภาพ มีระบบการบริการที่ดี สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางจิตวิญญาณ (Spiritual Health) เป็นความสุขที่เกิดจากการเข้าใจธรรมชาติ เข้าใจความจริงแห่งชีวิตและสรรพสิ่ง จนเกิดความรอบรู้
Spiritual tourism Tourism that focuses on the spiritual quest of the individual is leading to transcendence or enlightenment, often likely to include rituals, ceremonies, and traditions that are derive from different religions. การท่องเที่ยวด้านจิตวิญญาณ การมาปฏิบัติธรรมในวัด เป็นการพัฒนาด้านจิตใจ ให้ชีวิตมีความสุขอย่างแท้จริง
Yoga and meditation tourism Yoga is not a religion but is meant individual growth and for physical, emotional, intellectual, and spiritual balance. Yoga and meditation are practices, which are ideally integrated into daily life. เป็นการเดินทางมาเพื่อศึกษาศาสนาหรือลัทธิต่างๆ โดยให้ความสำคัญ กับการฝึกจิต ปฏิบัติธรรม ซึ่งมีทั้งที่อยู่ในศาสนสถาน เช่น วัด สำนัก สงฆ์ และที่ใช้รีสอร์ทเป็นสถานที่จัดอบรม
Medical tourism Can be defined as travel to destinations to undergo medical treatments such as surgery. การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ การศัลยกรรมกระดูก การศัลยกรรมความงาม ทันตกรรม ผ่าตัด ตรวจสุขภาพ
ประโยชน์และการนำไปใช้ นำไปใช้ในการเรียนการสอนในสาขาวิชาการท่องเที่ยว ในเรื่องของรูปแบบการ ท่องเที่ยว และแนวโน้มของการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ นำกรณีศึกษาในหนังสือ ไปให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อศึกษากลยุทธ์ในการบริหาร จัดการธุรกิจประเภทนี้ และให้นำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์ใช้ในการจัดการการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย การปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว และใช้เป็น ข้อมูลในการออกแบบวิชา การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ