ขั้นตอนที่ควรปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม 3/22 หมู่ 4 เพชรเกษม 81 หนองแขม หนองแขม กรุงเทพฯ โทรศัพท์ โทรสาร คู่มือการใช้งาน ระบบลงทะเบียนขอจบการศึกษา.
Advertisements

เปลี่ยนสี และรูปแบบของตัวหนังสือ และจุดเชื่อมโยง
บทที่ 3 การออกแบบระบบเนวิเกชัน
ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การใช้งานเมนูคำสั่งของ Microsoft Excel 2003
Chapter 2 เริ่มต้นการสร้างเว็บ
การใช้โปรแกรม explorer
Microsoft Word 2002 พุธทอง กาบบัวลอย.
การจัดการเว็บไซค์คลังความรู้ ด้วยระบบฐานข้อมูล MySql
วิธีการสร้างสารบัญภาพอัตโนมัติ
MS Excel Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรยชีต (Speadsheet) หรือโปรแกรมตาราง งาน ซึ่งจะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบน แผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียน ข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตาราง.
การสร้างเนื้อหาและการเพิ่มหน้า
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บเพจ
ภาษา HTML เบื้องต้น เช่น Internet Explorer และ Netscape Navigator
Project Management.
By Mr.Piched Tanawattana ส่วนประกอบของ Excel แถบชื่อเรื่อง Title bar ปุ่มควบคุม Control Button เวิร์กชีต Worksheet แถบสถานะ Status bar แถบเมนู Menu.
การแทรกรูปภาพ การนํารูปภาพจากแฟมขอมูลอื่น
การสร้าง Web Page จาก Wizard
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
การติดตั้ง AppServ
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ขั้นตอนการเขียนเว็บเพจ
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
บทที่ 6 โครงสร้างของเว็บ.
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การพัฒนาเว็บเบื้องต้นด้วย Macromedia Dreamweaver
ส่วนประกอบของโปรแกรม
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การสร้างพื้นหลัง (Background)
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
Patron Info Application
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
สาชาวิชาการวัด ประเมิน และวิจัยทางการศึกษา
สวัสดีค่ะ ท่านประธาน และผู้เข้าร่วมประชุม
Information Technology Project Management
บทที 3 การจัดการไฟล์และโฟลเดอร์
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
เรื่อง การจัดแต่งเอกสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม 3/22 หมู่ 4 เพชรเกษม 81 หนองแขม หนองแขม กรุงเทพฯ โทรศัพท์ โทรสาร คู่มือการใช้งาน ระบบลงทะเบียนฝึกประสบการณ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint
การสร้างหน้าโฮมเพจด้วยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX 2004
CHAPTER 6 Macromedia Dreamweaver MX 8.
การใช้โปรแกรม ACDSee สร้าง Flash อย่างง่ายๆ
การแทรกรูปภาพ บนเว็บเพจ.
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
การแต่งรูปภาพด้วยโปรแกรม
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
Microsoft Word ReportCreater
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
Web Technology & Basic Web Development
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
วิธีการสร้าง KM ในระบบ iSchool.
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ User
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
การสร้างบทความใน Joomla
นางสาวขวัญชนก ขจรภพ รหัสนิสิต กลุ่ม B06 คณะพยาบาลศาสตร์
14/01/581 ผู้พัฒนา อะโดบีซิสเต็มส์ ( เริ่ม พัฒนาโดย แมโครมีเดีย ) รุ่นเสถียร ล่าสุด CS3 (9.0) รุ่นทดลอง ล่าสุด (27 มีนาคม พ. ศ. 2550) โอเอส Windows Mac.
การสร้างพจนานุกรม.
การติดตั้งและถอนการ ติดตั้ง Template. เลือกไฟล์ moyoo_beach_massage.
การสร้าง website ด้วยโปรแกรมโปรแกรม Dreamweaver CS4 ตอนที่ 1
และการทำงานกับตัวอักษร
EBook Collection EBSCOhost.
การสร้างตารางคำนวณด้วย
การสร้างความเชื่อมโยง (Link)
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
การสร้างเมนูเข้าสู่บทความ. เป็นการสร้างเมนูเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทความที่ สร้างไว้ภายในเว็บไซต์ ซึ่งสามารถสร้างเมนูได้ ดังนี้ – การสร้างเมนูเข้าสู่บทความที่ถูกพักการใช้งาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนที่ควรปฏิบัติ บทที่ 12 ขั้นตอนที่ควรปฏิบัติ

ขั้นตอนที่ควรปฏิบัติ ในการลงมือทำงานในแต่ละหน้าของเว็บนั้น เพื่อให้งานออกมาเป็นระเบียบและง่ายต่อการแก้ไข ควรที่จะจัดทำกรอบเพื่อครอบคลุมงานมิให้ออกนอกกรอบที่ได้สร้างไว้ ฉะนั้นก่อนที่จะลงมือทำเว็บแต่ละหน้าดังนี้ 1. เปิดไฟล์ที่ต้องการ 2. คลิกที่เมนู Modify 3. คลิกที่ Page Properties 4. กำหนดชื่อหน้าที่ช่อง Title/Encoding แล้วพิมพ์ชื่อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องในหน้าเว็บนั้น 5. กำหนด Left margin = 0 และกำหนด Top margin = 0 ที่ช่อง Appearance 6. คลิก OK 7. คลิกให้เคอร์เซอร์อยู่แถวแรกของหน้าเว็บ 8.คลิกที่รูปเครื่องมือ Insert Table

ขั้นตอนที่ควรปฏิบัติ 9. กำหนดค่าต่างๆ ดังนี้ R=5, C=1, W=780 Pixel, B=0, P=0, S=0 10. คลิก OK

ขั้นตอนที่ควรปฏิบัติ 11. คลิกให้เคอร์เซอร์อยู่ในตาราง 12. กด Enter ประมาณ 5 ครั้ง 13. คลิกที่เมนู File  Save 14. ลงมือทำเว็บตามที่ออกแบบไว้ ก่อนลงมือทำเว็บ ควรที่จะสังเกตตำแหน่งของเคอร์เซอร์เสียก่อนว่าอยู่ตรงแถวที่จะปฏิบัติหรือไม่ ฉะนั้น งานทุกอย่างที่ได้ออกแบบจะได้อยู่ในกรอบตารางที่สร้างไว้ โดยจะไม่เกิน 1 หน้าจอในเรื่องของความกว้าง เพราะมิฉะนั้นแล้ว ผู้เข้าชมเว็บไซต์จะต้องคอยเลื่อน Scroll bar เพราะงานล้นจอ การปฏิบัติตามวิธีนี้สามารถช่วยแก้ปัญหานี้ได้

การสร้างโฟล์เดอร์เพื่อเก็บงานต่างๆ การสร้างโฟลเดอร์เพื่อเก็บงานการจัดทำเว็บไซต์ ควรแยกจัดเก็บเป็นหมวดหมู่ เพราะการจัดทำเว็บไซต์ที่มีข้อมูลจำนวนมาก ถ้าจัดเก็บโฟล์เดอร์เดียวจะช่วยป้องกันการสับสนของข้อมูลได้ เช่น

การสร้างโฟล์เดอร์เพื่อเก็บงานต่างๆ ไฟล์ index.html จะต้องอยู่ในโฟล์เดอร์ใหญ่ (ในที่นี้คือ Folder) ในโฟล์เดอร์ใหญ่จะประกอบไปด้วยโฟล์เดอร์ย่อยที่แยกเป็นหมวดหมู่ เช่น work, history และ image ซึ่งใช้เก็บรูปภาพทั้งหมดโดยเฉพาะ ในการออกแบบเว็บ ควรจะบันทึกรูปภาพไว้ในโฟล์เดอร์ image ให้เรียบร้อยก่อน เวลา Insert รูปภาพ จะได้ง่ายให้ไม่สับสนในการบันทึกรูปภาพ

การสร้างโฟล์เดอร์เพื่อเก็บงานต่างๆ

การสร้างโฟล์เดอร์เพื่อเก็บงานต่างๆ ในโฟล์เดอร์จะมีไฟล์ .html สำหรับเว็บเพจแต่ละหน้า การปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้ จะช่วยให้การทำงานเป็นระเบียบแบบแผนมากยิ่งขึ้น

The End